Page 11 - ประวัติศาสตร์สากล ม 4-6
P. 11

ทรพั ยากรธรรมชาตเิ ปน็ ปจั จยั สา คญั อกี ประการหนงึ่ ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การตงั้ ถนิ่ ฐาน ตงั้ แต่ อดีตมนุษย์อาศัยทรัพยากรธรรมชาติในการดารงชีวิตและประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ พ้ืนท่ีท่ีมี ทรัพยากรอุดมสมบูรณ์จึงดึงดูดให้มีการตั้งถิ่นฐาน ทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญ ได้แก่ ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์น้า และแร่ธาตุ
๒) ความก้าวหน้าในการคิดค้นเทคโนโลยี
การขยายชุมชนเป็นสังคมใหญ่ ทาให้เกิดปัญหาในการจัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอ สา หรบั สมาชกิ ในชมุ ชนนน้ั ๆ ดงั นน้ั ผนู้ า ของสงั คมนน้ั ๆ จงึ จา เปน็ ตอ้ งประดษิ ฐแ์ ละคดิ คน้ หาวธิ กี ารตา่ ง ๆ เช่น การคิดค้นระบบชลประทานเพื่อทดน้าเข้าไปในพื้นท่ีที่อยู่ห่างไกลจากริมฝั่งแม่น้า เพื่อขยายพื้นที่ เพาะปลูก หรือการสร้างอ่างเก็บน้าเพื่อกักเก็บน้าไว้ใช้ในฤดูแล้ง ตลอดจนการสร้างประตูระบายน้าและ ทานบกั้นน้าเพ่ือป้องกันน้าท่วมพื้นท่ีเพาะปลูก เทคโนโลยีเหล่าน้ีนับว่าเป็นความเจริญข้ันสูงที่สร้างความ เจริญรุ่งเรืองให้แก่อาณาจักรสมัยโบราณ เช่น อียิปต์ เมโสโปเตเมีย และจีน
นอกจากน้ีแล้วเครื่องทุ่นแรงและเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ที่มนุษย์ในดินแดนต่าง ๆ คิดประดิษฐ์ข้ึนมาก็เป็นรากฐานของอารยธรรมด้วย เป็นต้นว่า ความสามารถในการคานวณและการ ประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรงทาให้เกิดสถาปัตยกรรมสาคัญของโลก เช่น พีระมิดในอียิปต์ กาแพงเมืองจีน และ ปราสาทหินนครวัดของเขมรโบราณในประเทศกัมพูชาปัจจุบัน
๓) ความคิดในการจัดระเบียบสังคม
การอยู่ร่วมกันในสังคมขนาดใหญ่ จาเป็นต้องมีการสร้างกฎเกณฑ์และระเบียบ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหท้ กุ คนไดอ้ ยรู่ ว่ มกนั อยา่ งผาสกุ ไมเ่ บยี ดเบยี นหรอื ขม่ เหง
รังแกซึ่งกันและกัน แต่ละสังคมจึงมีการจัดโครงสร้างการปกครอง มผี ปู้ กครองซงึ่ มสี ถานะทแี่ ตกตา่ งกนั ตามลกั ษณะและขนาดของสงั คม น้ัน ๆ เช่น แคว้น รัฐ หรืออาณาจักร และมีผู้อยู่ใต้การปกครองซึ่งอาจ จา แนกตามอาชพี และฐานะ เชน่ พระ ขา้ ราชการ พอ่ คา้ แพทย์ กรรมกร ชาวนา และทาส โดยมีการตรากฎหมายเป็นเคร่ืองมือในการปกครอง นอกจากนกี้ ารยอมรบั สถานะทสี่ งู สง่ ของผปู้ กครอง เชน่ ชาวอยี ปิ ตเ์ ชอื่ วา่ กษตั รยิ ห์ รอื ฟาโรหข์ องตนเปน็ เทพเจา้ และชาวจนี เชอื่ วา่ จกั รพรรดขิ อง ตนเป็นโอรสแห่งสวรรค์ก็ทาให้ผู้นาประเทศมีอานาจจัดการปกครอง ให้ประชาชนอยู่ร่วมกันภายใต้กฎระเบียบอย่างสันติสุขได้
อน่ึง เพื่อให้ดินแดนหรือแว่นแคว้นของตนเจริญ-
ก้าวหน้า ผู้ปกครองดินแดนนั้นยังได้สร้างระบบเศรษฐกิจให้มั่นคง เช่น พวกสุเมเรียนในเมโสโปเตเมียได้ คิดค้นการจัดเก็บภาษี รวมทั้งมาตราชั่ง ตวง วัด เพ่ือให้การแลกเปลี่ยนสินค้าในอาณาจักรของตนดาเนิน ไปได้โดยราบรื่น มาตราชั่ง ตวง วัด เป็นเครื่องมือสาคัญของระบบการค้า ซึ่งเป็นระบบที่ทาให้ผู้คนใน ดนิ แดนตา่ ง ๆ ไดพ้ บปะแลกเปลยี่ นประสบการณแ์ ละเรยี นรวู้ ฒั นธรรมของชนชาตอิ น่ื ๆ จนกระทงั่ สามารถ นาไปพัฒนาให้เกิดอารยธรรมข้ึนได้ในเวลาต่อมา
“จิ๋นซีฮ่องเต้” จักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์ “ฉิน” ของจีน
อารยธรรมของโลกในยุคโบราณ
9


































































































   9   10   11   12   13