Page 17 - สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม 3
P. 17
การนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา
พระพุทธศาสนาได้เข้าสู่ประเทศศรีลังกาจนมีความม่ันคงรุ่งเรือง และต่อมาได้ เสื่อมถอยลง เนื่องมาจากการรุกรานจากชาติตะวันตก ชาวลังกามีความมุ่งมั่นที่จะฟื้นฟูพระพุทธศาสนา จึงได้นิมนต์พระสงฆ์ชาวไทยไปอุปสมบทชาวลังกาที่สนใจนับถือพระพุทธศาสนา และมีผู้ที่ศรัทธาใน พ ร ะ พ ทุ ธ ศ า ส น า ไ ป อ ปุ ส ม บ ท ท พี ่ ม า่ แ ล ะ ม อ ญ พ ร ะ พ ทุ ธ ศ า ส น า ไ ด เ้ จ ร ญิ ร ง่ ุ เ ร อื ง แ ล ะ เ ป น็ พ นื ้ ฐ า น ข อ ง ว ฒั น ธ ร ร ม ลังกาจนถึงปัจจุบัน
๕) พระพุทธศาสนาในทิเบต
ใน พ.ศ. ๙๗๖ สมัยพระเจ้าลาโธ โธรี เย็นเซ (กษัตริย์ทิเบตองค์แรก) ตัวแทนชาวอินเดีย ได้นําาคัมภีร์พระพุทธศาสนาและพระพุทธรูปมาเป็นเครื่องบรรณาการ คนทิเบตจึงได้รู้จักพระพุทธศาสนา เป็นครั้งแรก แต่ก็ยังไม่เป็นท่ีแพร่หลาย เพราะชาวทิเบตยังมีความเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจอยู่มาก ในราว พุทธศตวรรษที่ ๑๒ สมัยพระเจ้าสรอนสันคัมโป ทรงแผ่ขยายอําานาจไปยังจีนและเนปาล พระเจ้าถังไท่จง (จกั รพรรดจิ นี ) และซวึ่ (กษตั รยิ เ์ นปาล) ตา่ งพระราชทานพระราชธดิ าใหเ้ ปน็ พระมเหสเี พอ่ื ผกู สมั พนั ธไมตรี พระองค์ทรงสนับสนุนให้มีการศึกษาพระพุทธศาสนาจากคัมภีร์ท่ีนําาเข้ามาต้ังแต่ พ.ศ. ๙๗๖ และประกาศ ให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจําาชาติ โดยการสนับสนุนของพระมเหสี ๒ พระองค์ที่ทรงนับถือ พระพุทธศาสนานิกายมหายาน ในสมัยนี้มีพระภิกษุชาวจีนมาทิเบตเพื่อแปลพระคัมภีร์และพระสูตร จาํานวนมากพระเจา้สรอนสนัคมัโปไดท้รงสง่สมณทตูชอื่ทอนมีสมัโภตะไปศกึษาทมี่หาวทิยาลยันาลนัทา เมื่อกลับมาทิเบต ท่านได้เร่ิมงานประดิษฐ์อักษรและเผยแผ่พระพุทธศาสนา ทําาให้ประชาชนเลื่อมใส พระพุทธศาสนามากขึ้น
ใน พ.ศ. ๑๒๙๘-๑๓๔๐ ได้มีการอาราธนาพระศานตรักษิตที่เคยศึกษาอยู่ท่ีมหาวิทยาลัย นาลันทามาเผยแผ่หลักคําาสอนอันบริสุทธิ์ แต่ไม่ประสบความสําาเร็จเนื่องจากท่านสอนแต่หลักธรรม แตไ่ มส่ อนเวทมนตรค์ าถา ซงึ่ ชาวทเิ บตยงั มคี วามเชอื่ เรอื่ งอาํา นาจภตู ผี พระศานตรกั ษติ จงึ กลบั ไปอาราธนา พระปัทมสัมภวะให้ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาลัทธิตันตระ ซ่ึงเน้นเวทมนตร์และคาถาอาคม ทําาให้ถูกกับ อัธยาศัยของชาวทิเบต ในขณะนั้นชาวทิเบตนับถือพระปัทมสัมภวะว่าเป็น คุรุรินโปเช (พระอาจารย์ใหญ่) ท่านได้สร้างวัดในพระพุทธศาสนาแห่งแรกของทิเบตชื่อวัดสัมเย
ใน พ.ศ. ๑๖๐๐ ถือว่าเป็นยุคท่ีพระพุทธศาสนาจากอินเดียประดิษฐานม่ันคงในทิเบต มี นิกายแตกแยกออกไปมาก โดยมีพระทีปังกรศรีชญาณจากแคว้นพิหารเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน ทเิ บต คาํา สอนของทา่ นเปน็ แบบโยคาจารทผี่ สมผสานกนั ระหวา่ งมหายานและหนี ยาน ไดม้ กี ารเปลยี่ นแปลง ให้พระสงฆ์ถือพรหมจรรย์ และไม่สนับสนุนไสยศาสตร์ ต่อมาท่านสองขะปะได้อาศัยหลักคําาสอนนี้ แล้วต้ังนิกายเกลุกปะขึ้น นิกายนี้เคร่งครัดในพระธรรมวินัย มีการรวบรวมคัมภีร์ท่ีได้แปลแล้วเรียกว่า พระไตรปิฎก หรือคัมภีร์พระพุทธศาสนาฉบับทิเบต ซ่ึงตกทอดมาถึงปัจจุบัน
ใน พ.ศ. ๒๐๘๙-๒๑๓๐ มีกษัตริย์มองโกลนามว่า อัลตัลข่าน ได้พบกับประมุขสงฆ์ของ นิกายเกลุกปะแล้วเกิดความเลื่อมใส ทรงมอบตําาแหน่งทะไลลามะให้ นับว่าเป็นต้นกําาเนิดทะไลลามะ
ครั้งแรก
15