Page 33 - เนื้อในหนังสืออาจารย์ นพ. ชัยสิทธิ์ ธารากุล-Final
P. 33
๔๐ ปี ของอายุโรงเรียนแพทย์ชนบทแห่งแรกของประเทศไทย
ึ
ั
คือศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาช้นคลินิก รพ.พระปกเกล้า ซ่งจะ
ึ
ี
์
ิ
ไม่เกิดข้นหากไม่ม ผอ.นพ.ชัยสิทธ ธารากุลในยุค ๑๙๘๒ (พ.ศ.๒๕๒๕)
ั
ท่านมีความมุ่งม่นสูงมากร่วมกับคณะแพทย์จุฬาฯ (ศ.พิเศษ นพ.ทองจันทร์
หงศ์ลดารมภ์) ในการผลักดันให้เกิดการเรียนการสอนชั้น clinic เต็ม
รูปแบบขึ้นใน รพ. ต่างจังหวัดสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นครั้งแรก
ั
ในประเทศ ปัญหาอุปสรรคในยุคน้นมีมากมายท้งในแง่ภาระงาน (ท ี ่
ั
คิดผิดกันเอง) ความกลัว และความตระหนก แต่ อ.ชัยสิทธิ์ ท่าน look
forward ท่านเข้มแข็ง กล้าสู้กับปัญหาและอุปสรรค ปัญหาที่ส�าคัญมี
ื
ี
๒ เร่องคือ ๑) การต่อต้านจากแพทย์ Staff และ ๒) การท่ต้องม ี
ประสบการณ์สอนอบรมแพทย์ post graduated (แพทย์ฝึกหัด Intern)
ให้เข้มแข็งก่อนไหม? สรุปว่าท้ายท่สุดการลงคะแนนเสียงของแพทย
ี
์
ี
Staff ท่ไม่ยินยอมเหลือเพียง ๒-๓ ท่านและลาออกไปภายหลัง ส่วนการ
ั
ื
ี
ท่ยังไม่มีการอบรม post grad. (intern) น้น ท่าน ผอ. เช่อว่ามันจะผ่าน
ไปได้หากแพทย์ staff ตั้งใจสอนและดูแลนิสิตแพทย์อย่างใกล้ชิด และ
กระทรวงฯคงจะจัดให้มี intern ในเวลาไม่นาน
*๒๕๑๙ ผอ.อ.นพ.ชัยสิทธ ร่วมเตรียมการโครงการผลิตแพทย์
์
ิ
ชนบทกับคณะแพทย์ฯจุฬาฯ (ศ.พิเศษ นพ.ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์)
*๒๕๒๑ เริ่ม start สอน MESRAP (โครงการส่งเสริมการ
ศึกษาแพทย์ส�าหรับชาวชนบท) รุ่นที่ ๑ (ปี๑) ที่คณะแพทย์ฯจุฬา
ิ
ี
่
ี
*๒๕๒๒ เร่ม start ฝึกอบรมแพทย์ฝึกหัด Intern รุ่นท ๑ ท
่
รพ.พระปกเกล้า
32