Page 29 - เนื้อในหนังสืออาจารย์ นพ. ชัยสิทธิ์ ธารากุล-Final
P. 29
การจัดการศึกษา ความก้าวหน้า ความส�าเร็จ ปัญหาและอุปสรรค การ
ึ
ถอดบทเรียน ซ่งนอกจากจะทาให้โครงการส่งเสริมการศึกษาแพทย์
�
�
สาหรับชาวชนบท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงสาธารณสุข
�
ั
ี
เป็นท่รู้จักในวงกว้างท้งในประเทศและต่างประเทศแล้ว ความสาเร็จของ
การพัฒนา ศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า
ี
จันทบุร ยังเป็นต้นแบบของนวัตกรรมการพัฒนาศูนย์แพทยศาสตรศึกษา
ชั้นคลินิกในโรงพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงฯ และองค์กร
ื
อ่นท้งประเทศ ซ่งปัจจุบันมีอยู่กว่า ๔๐ ศูนย์แพทย์ภายใต้โครงการ
ั
ึ
่
ิ
ผลิตแพทย์เพมเพื่อชาวชนบท ยิ่งไปกว่านั้น ยังอาจกล่าวได้ว่า อาจารย์
์
นายแพทย์ชัยสิทธ ธารากุล เป็นผู้มีส่วนสาคัญในการสร้างงานวิจัยท ี ่
�
ิ
ี
ี
อยู่บนสมมติฐานท่ว่า โรงพยาบาลในพ้นท หากได้รับการพัฒนาและ
่
ื
่
ั
็
ี
ี
ี
ี
เตรยมความพร้อมอย่างเพยงพอแล้วกสามารถทจะจดการเรยนการ
ั
สอนช้นคลินิกสาหรับหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตได้อย่างม ี
�
ี
้
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผลงานวิจัยช้นน ทาให้สร้างโอกาสใน
�
ิ
การเปิดโรงเรียนแพทย์ใหม่ได้อีกหลายสถาบันโดยการท�าความร่วมมือ
ื
ึ
กับโรงพยาบาลในพ้นท่ให้เป็นสถาบันร่วมผลิตทางคลินิก ซ่งนับได้ว่า
ี
ื
เป็นการประหยัดงบประมาณในการลงทุนของรัฐเพ่อการผลิตแพทย์ได้
ี
ี
อย่างมหาศาล ผลิตและกระจายแพทย์ท่มีเจตคติและความพร้อมท่จะ
ไปท�างานในพื้นที่ชนบทได้เป็นจ�านวนมาก
อาจารย์ นายแพทย์ชัยสิทธ์ ธารากุลกับทุนสนับสนุนจาก
ิ
ี
องค์การต่างประเทศ ด้วยแนวคิดและผลงานอันเป็นท่ประจักษ์แม้จะ
ิ
เป็นระยะเวลาเร่ม อาจารย์ นายแพทย์ชัยสิทธ ธารากุล รองศาสตราจารย์
์
ิ
นายแพทย์เมืองทอง แขมมณ และคณะ ก็ทาให้โครงการส่งเสริมการ
�
ี
ศึกษาแพทย์ส�าหรับชาวชนบทฯ นี้เป็นที่สนใจขององค์การต่างประเทศ
หลายแห่ง เช่น WHO, UNFPA. British Council บริษัทยา Glaxo ใน
28