Page 27 - เนื้อในหนังสืออาจารย์ นพ. ชัยสิทธิ์ ธารากุล-Final
P. 27
ตลอดจนจะต้องพิจารณาประโยชน์ตอบแทนผู้ปฏิบัติงานอย่างไรจึงจะ
เป็นการสร้างขวัญและก�าลังใจที่เหมาะสมแก่เขาเหล่านั้น
อาจารย์ นายแพทย์ชัยสิทธิ์ ธารากุลกับการพัฒนาหลักสูตร
แพทยศาสตรบัณฑิตโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community Based
ิ
Curriculum) อาจกล่าวได้ว่าอาจารย์ นายแพทย์ชัยสิทธ ได้เป็นผู้ม ี
์
�
ั
ิ
ส่วนสาคญย่งในการยกร่างหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตโดยใช้ชุมชน
เป็นฐาน ร่วมกับคณาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้บริหารจาก
กระทรวงสาธารณสุข ผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ผู้แทนชุมชน และผู้มี
้
ส่วนได้ส่วนเสียท่เก่ยวข้องกับหลักสูตรน ถือเป็นหลักสูตรแพทยศาสตร
ี
ี
ี
ี
ี
บัณฑิตท่ใช้ชุมชนเป็นฐานฉบับแรกของประเทศไทย มีรายวิชาท่มุ่งเน้น
ชุมชนถึง ๒๖ หน่วยกิต รวมประมาณ ๑ ภาคการศึกษาในระบบทวิภาค
ใช้เวลาในการยกร่างเกือบ ๓ ปี กระผมจ�าได้ว่า พวกเราต้องเดินทาง
ไปร่วมประชุมเพ่อสร้างหลักสูตรน้คร้งแล้วคร้งเล่า เพ่อให้ได้หลักสูตรท ่ ี
ื
ื
ั
ั
ี
ี
่
ู
ุ
่
ี
ุ
มความมส่วนร่วมของผ้เกยวข้องทกฝ่ายและม่งเน้นการสร้างแพทย์ทม ี
ี
ี
ความพร้อมและมีเจตคติที่ดีต่อการท�างานในชนบทอย่างแท้จริง
ิ
อาจารย์ นายแพทย์ชัยสิทธ์ ธารากุลกับการพัฒนาแพทยศาสตร
ิ
ศึกษาแก่คณาจารย์ อาจารย์แพทย์ ชัยสิทธ์ได้ให้ความสาคัญกับการ
�
ี
เตรียมแพทย์ท่โรงพยาบาลพระปกเกล้าให้มีความรู้ความสามารถใน
วิชาครูมาก จะเห็นได้จากการที่ท่านได้เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการแพทย
ั
ศาสตรศึกษาทุกคร้ง สนับสนุนให้อาจารย์เขียนแผนการสอน เอกสาร
ิ
ิ
�
ประกอบการสอน เอกสารคาสอน การประเมินผลไว้พร้อมก่อนรับนสต
จะเข้ามาศึกษาชั้นคลินิกรุ่นแรกในปีการศึกษา ๒๕๒๕
่
ิ
ี
อาจารย์ นายแพทย์ชัยสิทธ์ ธารากุลกับการพัฒนาสถานท
พัสดุ อุปกรณ์การศึกษา ท่านอาจารย์นายแพทย์ ชัยสิทธ์เป็นผู้เห็น
ิ
26