Page 26 - เนื้อในหนังสืออาจารย์ นพ. ชัยสิทธิ์ ธารากุล-Final
P. 26
ั
�
อย่างไรก็ตาม ท้งกระทรวงฯ และทบวงฯ ก็ได้สัญญาว่าจะทางานร่วมกัน
ซึ่งในที่สุดก็ได้มีพิธีเปิด “ศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก” ขึ้นอย่าง
เป็นทางการในปี ๒๕๒๕ ตลอดระยะเวลาหกปี (๒๕๑๙-๒๕๒๕)
�
�
ิ
์
�
นายแพทย์ชัยสิทธ ได้ทุ่มเทกาลังปัญญา กาลังกาย ในการทางานให้
ลุล่วงมาด้วยด ในการน้นท่านศาสตราจารย์พิเศษ นายแพทย์ทองจันทร
ั
์
ี
หงศ์ลดารมภ์ เป็นผู้บุกเบิกและเป็นผู้อานวยการโครงการส่งเสริมการ
�
ศึกษาแพทย์ส�าหรับชาวชนบท (Medical Education for Students in
์
ี
Rural Area Project (MESRAP)) คนแรกและม รองศาสตราจารย
ี
นายแพทย์เสร ร่วมสุข และ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงนันทนา
ี
�
�
�
อังสุมาลิน เป็นกาลังท่สาคัญมากในการดาเนินงานต่อหลังจากท่าน
ศาสตราจารย์พิเศษ นายแพทย์ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์ ไปรับต�าแหน่ง
อธิการบด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และรองศาสตราจารย์ นายแพทย์
ี
เมืองทอง แขมมณี ไปท�างานต่างประเทศ อาจารย์นันทนาและกระผม
ี
�
ในฐานะท่เคยร่วมงาน เรียนรู้กับท่านในฐานะครูท่ได้แนะนาการวิธีทางาน
ี
�
์
ิ
ั
กระผมท้งสองขอแสดงความคารวะอาจารย์ นายแพทย์ชัยสิทธ ธารากุล
ื
�
มาด้วยความเคารพอย่างสูง และจะขอเล่าเร่องจากความทรงจามิรู้ลืม
ในผลงานที่ท่านได้ท�าคุณประโยชน์ไว้นาๆ ประการดังนี้
�
อาจารย์ นายแพทย์ชัยสิทธิ ธารากุลกับการวางแผนกาลังคน
เมื่อกระผมเริ่มท�างานด้านแพทยศาสตรศึกษากับ อาจารย์ นายแพทย์
�
ิ
์
ชัยสิทธ ในปีแรก ส่งท่กระผมเรียนรู้กับท่านคือการวางแผนกาลังคน
ิ
ี
อย่างเป็นระบบ เช่นจะต้องรับนักศึกษาอย่างน้อยเท่าไรจึงจะคุ้มทุน
�
จะต้องรับอาจารย์ใหม่จานวนเท่าใดจึงจะเหมาะกับงานบริการและการ
เรียนการสอน จะต้องเตรียมผู้สนับสนุนการศึกษาเท่าไรและจะต้องพัฒนา
ผู้ใด/ กลุ่มงานใดอย่างไรบ้างจึงจะเหมาะสมกับงานท่ต้องช่วยอาจารย์แพทย์
ี
25