Page 22 - สูจิบัตรการเเสดงศิลปนิพนธ์ รุ่นที่ ๒๐
P. 22

ละครสังคีต เรื่อง หงส์ทอง



                             เ
                                        เ
               การแสดงละครสังคีต รื่อง       หงส์ทอง     ป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา พระองค์  ได้รื้อฟื้นละครสังคีตกลับมาอีกครั้ง  โดยนำ เค้าโครงมาจากเรื่อง
        ค้นคว้างานวิจัย ละครสังคีต เรื่อง หงส์ทอง            Le Lac Des Cygnes ของ Piote Llich Tchaikowsky เป็นการแสดง
                                     ำ
               ละครสังคีตเป็นละครท่ให้กาเนิดโดยพระบาทสมเด็จ บัลเลต์หรือระบำ ปลายเท้า มาประพันธ์เป็นบทละครสังคีต เรื่อง หงส์ทอง
                                 ี
        พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว  (รัชกาลที่  ๖)  มีวิวัฒนาการมาจากละครร้อง     ละครสังคีต เรื่อง หงส์ทอง จัดแสดงครั้งแรก ในปี พ.ศ. ๒๕๑๐
        และละครพูดซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากการแสดงละครตะวันตกในหลาย  โดยนักเรียนวิทยาลัยครูสวนดุสิต (มหาวิทยาลัยสวนดุสิต) โดยจัดการแสดง
        ประเด็นกล่าวคือ ลักษณะของการร้องที่ผู้แสดงจะเป็นผู้ร้องเอง  ตามรูปแบบละครสังคีตของรัชกาลที่ ๖ ใช้ผู้ชายและผู้หญิงแสดง

        ได้รับอิทธิพลมาจากละครโอเปร่าของละครตะวันตก ที่นำ มาปรับใช้  เพื่อความสมจริง  ต่อมากรมศิลปากรได้มีบทบาทในการนำ ละครสังคีต
        ตั้งแต่ละครดึกดำ บรรพ์ การเปลี่ยนฉากตามท้องเรื่องได้รับอิทธิพล  เรื่องหงส์ทอง      กลับมาจัดแสดงเนื่องในงานครบรอบ    ๑๐๐   ปีเกิด     หม่อมหลวงป่น
                                                                                                                ิ
        มาจากการละครในยุคโรมัน ที่เริ่มนำ ฉากเข้ามาประกอบการแสดง  มาลากุล เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ณ โรงละครแห่งชาติ เนื้อเรื่องกล่าวถึงความรัก
        เพื่อความสมจริง มีการเปิด-ปิดฉากด้วยตัวละครจำ นวนมาก แต่งกาย  ระหว่างเจ้าชายกับนางหงส์ผู้ต้องคำ สาปจากพระอัยกา ให้อยู่ในร่างของหงส์

        ตามท้องเรื่อง  ซึ่งเนื้อเรื่องหรือบทละครที่ใช้แสดงละครสังคีตส่วนใหญ่  จนกว่าจะพบรักแท้ สามารถเป็นมนุษย์ได้เพียงเวลากลางคืนเท่านั้น เมื่อครั้ง
        มีที่มาจากบทละครของตะวันตก ทั้งที่เป็นเรื่องแปลหรือนำ เค้าโครงเรื่อง  นางหงส์ปรากฏตัวในงานเต้นรำ ที่วังของเจ้าชาย        ทั้งสองได้ตกหลุมรัก  และ
        มาดัดแปลงใหม่ มีระบำาเป็นหมู่แทรกอยู่เป็นระยะและนิยมใช้ผู้ชาย  ให้คำ สัญญาต่อกัน ต่อมาในงานเต้นรำ อีกคืนหนึ่ง หงส์ดำ ผู้เป็นพี่สาว
        แสดงล้วน โดยในสมัยรัชกาลที่   ๖  มีเรื่องที่แสดงละครสังคีตเพียง  ๔  เรื่อง  ฝาแฝดไดปรากฏตัวพร้อมพระอัยกา  เจ้าชายคิดว่าเป็นนางหงส์จึงเข้าไป
                                                                   ้
        คือ มิกาโด วังตี่ หนามยอกเอาหนามบ่ง และวิวาหพระสมุท ปรากฏการ  พูดคุยอย่างสนิทสนม นางหงส์มาเห็นเข้าจึงเสียใจมากและหนีเข้าป่า
        แสดงเพียง ๒ เรื่อง คือ เรื่องหนามยอกเอาหนามบ่งและวิวาหพระสมุท   ไปทั้งหมด เป็นแผนการของพระอัยกา เมื่อเจ้าชายรู้ว่าตนเข้าใจผิดจึง
        หลังจากพระองค์สวรรคต หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล มหาดเล็กรับใช้ใกล้ชิด  หนีออกจากวัง เพื่อตามหานางหงส์ รำ พึงรำ พันจะฆ่าตัวตาย
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27