Page 34 - 30204-2001 พื้นฐานธุรกิจดิจิทัล
P. 34
แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะ หน่วยที่ 4
สอนครั้งที่ 11-14
ชื่อหน่วย ระบบการทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล
ชั่วโมงรวม 8
ชื่อเรื่อง ระบบการทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล จำนวนชั่วโมง 28
ระบบธุรกรรมดิจิทัล
ในยุคดิจิทัลที่แทบจะกลายเป็นสังคมไร้เงินสดอย่างเบ็ดเสร็จ เพราะไม่ว่าจะทำธุรกรรมใด ๆ ก็
สามารถทำผ่านแค่ปลายนิ้ว ผ่านสมาร์ทโฟน ได้แทบทุกที่และทำได้ทุกคนที่มีบัญชีธนาคารหรือมีพร้อมเพย์
ร้านค้าร้านอาหารต่างก็มีบริการระบบจ่ายเงิน ชำระเงินผ่านคิวอาร์โค้ด (QR code) ซึ่งสร้างความ
ั
ี
สะดวกสบาย อกทั้งทุกการจ่ายและชำระเงินนั้นก็จะบันทึกลงไปอย่างอตโนมัติ สามารถตรวจสอบการโอนได้
แบบ เรียลไทม์ (Real Time) ไม่ต้องคอยเช็คสมุดเงินฝาก (Bank book) ให้เสียเวลา กล่าวได้ว่าระบบธุรกรรม
ดิจิทัลนั้นได้เข้ามามีบทบาทกับสังคมไทย ทุกธนาคารนั้นต่างก็มีแอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการทำธุรกรรม
รูปแบบการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
นวัตกรรมและเทคโนโลยในการทำธุรกรรม มี ดังนี้
ี
1. คิวอาร์โค้ด (QR Code) ระบบชำระเงินรูปแบบใหม ไมต้องใช้เงินสด QR Code มาจากคำ
่
่
ั
ว่า "Quick Response Code" ซึ่งเป็นรหัสที่พฒนาต่อยอดมาจากบาร์โค้ด (Barcode) ให้สามารถใช้งานง่าย
ี
ขึ้น เก็บข้อมูลได้มากกว่า เพยงแค่มีสมาร์ทโฟน ก็สามารถสแกนข้อมูลผ่าน QR Code ได้แล้ว ทำให้จะเห็นว่า
ปัจจุบันนิยมนำ QR Code มาเป็นช่องทางเข้าถึงข้อมูลในเว็บไซต์หรือแอพพลิเคชันต่าง ๆ เช่น การเพมเพอน
ิ่
ื่
ในไลน์ก็เป็นหนึ่งในความสามารถของ QR Code เช่นกัน
ิ
2. อนเทอร์เน็ตแบงค์กิ้ง (Internet Banking) การธนาคารอนเทอร์เน็ต โดยมีชื่อเรียกมากมาย
ิ
ี
เช่น อแบงค์กิ้ง (E-Bankin) การธนาคารเสมือนจริง (Virtual Banking) การธนาคารออนไลน์ (Online
Banking) การธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Banking) เป็นระบบที่ใช้ในการชำระเงินทางอเล็กทรอนิกส์
ิ
้
โดยมีลูกคาของสถาบันการเงินทำธุรกรรมทางด้านการเงิน เช่น ซื้อสินค้า เสื้อผ้า กระเป๋า ได้หลายรูปแบบโดย
ผ่านเว็บไซน์ของสถาบันการเงินนั้น ๆ ที่ลูกค้าเป็นสมาชิกอยู่ โดยตัวระบบการธนาคารอเล็กทรอนิกส์มัก
ิ
เชื่อมต่อกับระบบธนาคารแกน โดยระบบธนาคารแกนจะมีสถาบันการเงินเป็นผู้บริหารจัดการ โดยจะมีความ
แตกต่างจากการธนาคารสาขาซึ่งการธนาคารสาขาจะมีวิธีการแบบดั้งเดิมคือต้องให้ลูกค้าเข้าถึงการบริการของ
การธนาคารเอง
ิ
3. โมบายแบงค์กิ้ง (Mobile Banking) โมบายแบงค์กิ้ง (Mobile Banking) คล้ายอนเตอร์เน็ตแบงค์
ี
กิ้ง (Internet Banking) เพยงแต่เป็นการใช้บริการผ่านแอพพลิเคชันของธนาคาร ทำให้สามารถโอนเงิน
สอบถามยอดในบัญชี ซื้อสินค้าและบริการจ่ายบิลต่าง ๆ ผ่านแอพพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือหรือสมาร์ทโฟน
ได้เลย ซึ่งแต่ละธนาคารมีการพัฒนาแอพพลิเคชันโมบายแบงค์กิ้ง ให้อำนวยความสะดวกในการซื้อขายของ
Page 33 of 72