Page 94 - องค์ความรู้ อาหารและโภชนาการสำหรับพระสงฆ์
P. 94

ู
                               ้
                                         ุ
               รอบร้ดานสขภาพ…ห่างไกลโรค


                                                     ้
                                                            ุ
                                                  ู
               การสร้างความรอบร้ดานสขภาพ (Health Literacy)
                                                            �
                                                         �
                                                    ี
                                                      ี
                        ความรอบรู้ด้านสุขภาพในท่น้มีคาสาคัญอยู่ 2 คา คือ ความรอบรู้ และสุขภาพ
                                                                         �
                                                                                                         �
               ซ่งความรอบรู้เป็นผลมาจากความสามารถของบุคคลในการอ่านหนังสือ ความสามารถในการจา
                 ึ
                                                                            �
               ความคิด ความรู้ ทักษะชีวิตการใช้ชีวิต การประสบความสาเร็จ ฯลฯ และค�าว่าสุขภาพ
                                                                                                         ั
                 ึ
                                           �
               ซ่งมีหลากหลายมุมมอง แต่สาหรับมุมมองเร่องสุขภาพของประเทศไทยน้น มีความครอบคลุมท้ง
                                                                                    ั
                                                         ื
               4 มิติตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 กาหนดความหมายของ “สขภาพ”
                                                                                                  ุ
               ไว้ว่า “ภาวะของมนุษย์ท่สมบูรณ์ท้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคมเช่อมโยงกัน
                                        ี
                                                 ั
                                                                                                ื
                                                                                               ั
               เป็นองค์รวมอย่างสมดุล” และให้ความหมายของค�าว่า “ปัญญา” ว่าคือ“ความรู้ท่ว รู้เท่าทัน
                                                               ี
               และความเข้าใจอยางแยกได้ในเหตผลแห่งความด ความชว ความมประโยชน์และความมโทษ
                                                                       ั
                                                                       ่
                                                                                                      ี
                                                 ุ
                                                                                 ี
                   �
               ซึ่งนาไปสู่ความมีจิตอันดีงามและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่” (HSRI, 2009)
                                                                                               ี
                        อย่างไรก็ตามมีผู้ให้ความหมายของค�าว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพในมุมมองท่แตกต่างกัน
                 ึ
               ซ่งสามารถจัดเป็นกลุ่มของความหมายในแต่ละมุมมองได้ ดังน้ มุมมองด้านทักษะทางการรับรู้
                                                                           ี
               และทางสังคม สถาบนวิจยระบบสาธารณสุข (สวรส) ให้ความหมายว่า หมายถึง “ทักษะต่าง ๆ
                                   ั
                                       ั
               ทางการรับรู้และทางสังคม ซ่งเป็นตัวกาหนดแรงจูงใจ และความสามารถของปัจเจกบุคคล
                                                      �
                                            ึ
               ในการที่จะเข้าถึง เข้าใจ และใช้ข้อมูลในวิธีการต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมและบ�ารุงรักษาสุขภาพของ
                          ี
               ตนเองให้ดเสมอ” (HSRI, 2009) หรือ Nutbeam ได้ให้ความหมายว่า คือ ความรู้ ความเข้าใจ
               และทักษะทางสังคมท่กาหนดแรงจูงใจและความสามารถเฉพาะบุคคลในการเข้าถึง ทาความเข้าใจ
                                                                                              �
                                    ี
                                             ี
               และใช้ข้อมูลเพ่อให้เกิดสุขภาพท่ดี รวมท้งการพัฒนาความรู้ และทาความเข้าใจในบริบทด้านสุขภาพ
                             ื
                                                    ั
                                                                           �
                                                                                     ี
                                                       ื
                       ี
               การเปล่ยนแปลงทัศนคติและแรงจูงใจเพ่อก่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพท่เหมาะสมด้วยตนเอง
               (Nutbeam, 2000, 2008)
                        มุมมองด้านความสามารถด้านแสวงหาและการใช้ข้อมูลจากมุมมองน้มีผู้ให้ความหมาย
                                                                                         ี

                                                                                 �
               ไว้หลากหลาย “ระดับความสามารถท่บุคคลจะ แสวงหา ตีความ หรือทาความเข้าใจข้อมูลพ้นฐาน
                                                                                                    ื
                                                  ี
                                     �
                                   ึ
               หรือข้อมูลบริการ ซ่งจาเป็นต่อการตัดสินใจในการดูแลสุขภาพ” (The US Healthy People,
               2010) ความสามารถในการค้นหา ท�าความเข้าใจ วิเคราะห์ และใช้ข้อมูลทางสุขภาพในการตัดสินใจ
               ได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้มีสุขภาพดี และลดความไม่เสมอภาคทางสุขภาพ (Pleasant and Kuruvilla,
                                                                                                     ิ
                                                                                            ื
                                                            ึ
               2008) และความสามารถเฉพาะบุคคลในการเข้าถง เข้าใจ และใช้ข้อมูลทางสุขภาพเพ่อท�าให้เกดการ
               ตัดสินใจทางสุขภาพได้อย่างเหมาะสม (Ishikawa et al., 2008)
             94        องค หร บพระสงฆ และฆราวาส
                          ์
                               ู
                          ์
                       องคความร้ อาหารและโภชนาการ
                          ความร
                               ้
                                อาหารและโภชน
                               ู
                                            าการ
                       ส�าหรับพระสงฆ์และฆราวาส
                       ส
                        า
                            ั
                                      ์
                        �
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99