Page 12 - การพฒนาการหนงสออเลกทรอนกสเรองภาษาซ
P. 12

่
                                                            ี�
 ื
 �
                                                                                        �
                                                                              ิ
 ี�
 ิ
 ่
                                                                                        ื
                                                 หนวยท1 ภาษาคอมพวเตอร์เบองต้น  6                                                  หนวยท1 ภาษาคอมพวเตอร์เบองต้น  7
 .....................................................................................................................................................  ....................................................................................................................................................
 3.ยุคของภาษาโปรแกรม     3)  ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (Third Generation Language) ในยุคนี้ได้พัฒนารูป
 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------  แบบภาษาให้มีความใกล้เคียงกับภาษาของมนุษย์ยิ่งขึ้น เรียกว่า ภาษาระดับสูง โดยนำากลุ่ม
        คำาของภาษาอังกฤษมาใช้เป็นรูปแบบของการเขียน ช่วยให้โปรแกรมภาษาในยุคนี้มีรูปแบบ
     ภาษาคอมพิวเตอร์ ได้ถูกพัฒนามาหลายยุคหลายสมัย ตั้งแต่ยุคแรก การใช้ภาษายังมีความ  คำาสั่งที่ง่ายต่อการเรียนรู้และเข้าใจ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ เป็นรูปแบบเชิง

 ใกล้เคียงกับภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์มาก เรียกว่า ภาษาระดับต่ำา(Low-level Language) แต่  กระบวนการ จะเขียนคำาสั่งเป็นขั้นเป็นตอนเรียงลำาดับ โดยผู้เขียนจะต้องจดจำารูปแบบคำาสั่ง


 มีโครงสร้างและรูปแบบที่ยากต่อความเข้าใจของมนุษย์ ต่อมาได้พัฒนารูปแบบภาษาที่มีความ  ต่าง ๆ จึงยังเป็นเรื่องที่ยุ่งยากสำาหรับการเขียนโปรแกรม ตัวอย่างภาษาในยุคที่ 3 เช่น ภาษา

 ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ เรียกว่า ภาษาระดับสูง (High-level Language) สามารถจำาแนกยุค  ซี ภาษาเบสิก ภาษาปาสกาล และภาษาฟอร์แทรน เป็นต้น ภาษาในยุคนี้จะมีตัวแปลภาษา 2

 ของภาษาคอมพิวเตอร์ได้ 5 ยุค ดังนี้
        ประเภท คือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)



   1)  ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (First Generation Language) ในยุคนี้จะสั่งงาน      4)  ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (Fourth Generation Language) ภาษาในยุคที่ 3 มี

 คอมพิวเตอร์ด้วยภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง คำาสั่งในภาษา  ความยุ่งยาก ซับซ้อน ในการออกแบบโปรแกรม จึงต้องการผู้ที่มีประสบการณ์สูงในการเขียน


 เครื่องประกอบด้วยตัวเลขฐานสอง มี 0 กับ 1 เป็นสัญลักษณ์แทนสัญญาณไฟฟ้า เนื่องจาก  โปรแกรมเหล่านั้น เพื่อให้เกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด ไม่เหมาะกับนักเขียนโปรแกรมมือใหม่

 เป็นรูปแบบภาษาที่สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง จึงไม่ต้องมีตัวแปลภาษา การเขียนชุดคำา   จึงมีการพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นมาใหม่ เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะการเขียนที่

 สั่งในยุคนี้นั้น จะมีความยุ่งยากในการเขียนเป็นอย่างยิ่ง ยุคนี้จัดอยู่ในกลุ่มภาษาระดับต่ำา
        ไม่เป็นลำาดับขั้นตอน หรือไม่มีรูปแบบที่แน่นอน เพียงหยิบเอาปุ่มคำาสั่งต่าง ๆ มาวาง ผู้เขียน

        โปรแกรมรู้เพียงว่าจะให้คอมพิวเตอร์ทำาอะไรบ้าง โดยไม่ต้องรู้ว่าทำาได้อย่างไร แต่เป็นหน้าที่
   2)  ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (Second Generation Language) พัฒนามาจากยุคที่1 เมื่อ  ของภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นมาจัดการแทน รูปแบบของภาษาคอมพิวเตอร์ยุคนี้ช่วยทำาให้

 การเขียนคำาสั่งภาษาเครื่องทำาได้ยาก จึงได้พัฒนาโดยนำาสัญลักษณ์มาใช้แทนรูปแบบตัวเลข  การเขียนโปรแกรมทำาได้ง่าย สะดวก และรวดเร็วขึ้น เรียกว่า ภาษาระดับสูงมาก (Very-high-

 ในภาษาเครื่อง เพื่อให้สามารถเขียนคำาสั่งได้ง่ายขึ้น ภาษาในยุดนี้ได้แก่ ภาษาแอสเซมบลี แต่  level Language) ภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 4 นี้ ไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อทำางานด้วยตนเอง


 คอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจความหมายของชุดคำาสั่งที่เขียนขึ้นด้วยรูปแบบภาษาแอสเซมบลี จึงต้องมี   แต่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อนำาไปใช้ทำางานร่วมกับภาษาอื่น เช่น นำาภาษา SQL มาใช้ร่วมกับ

 ตัวแปลภาษา เรียกว่า แอสเซมเบลอร์ เพื่อช่วยแปลคำาสั่งภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง    ภาษา PHP เป็นต้น

 เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ ยุคนี้ก็ยังจัดอยู่ในกลุ่มภาษาระดับต่ำา      5)  ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (Fifth Generation Language) ภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่


        5 นี้ มีความใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากยิ่งขึ้น เรียกว่า ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)


        ผู้ใช้สามารถสั่งงานด้วยเสียง เป็นการนำาระบบฐานความรู้มาช่วย โดยจะแปลความของคำาสั่ง

        เพื่อทำาให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและจำาโครงสร้างของคำาสั่งเหล่านั้นไว้ ภาษาธรรมชาตินี้จะนำาไป


        ประยุกต์ใช้กับระบบผู้เชี่ยวชาญ และระบบปัญญาประดิษฐ์ เช่น การพัฒนาหุ่นยนต์ให้มีความ

        สามารถในการทำางานเหมือนมนุษย์ และสามารถสื่อสารกับมนุษย์ได้ การใช้เสียงเป็นรหัสผ่าน

        ในการสั่งให้โปรแกรมที่กำาหนดไว้เริ่มทำางาน เป็นต้น
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17