Page 40 - การพฒนาการหนงสออเลกทรอนกสเรองภาษาซ
P. 40

ี�
 �
                                                                     หนวยท2 เริมต้นภาษาซ ี  34                                                                      หนวยท2 เริมต้นภาษาซ ี  35
 ่
                                                                                 �
                                                                            ี�
                                                                       ่
 .................................................................................................................................................  .................................................................................................................................................
 4. โครงสร้างพื้นฐานของโปรแกรมภาษาซี       3.ส่วนฟังก์ชัน (Function) ส่วนเขียนฟังก์ชัน (ต้องประกาศชื่อฟังก์ชันไว้ส่วนหัวด้วย


 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------   ) เป็นการแบ่งโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อย ๆ แล้วเรียกใช้ทีละส่วน และอาจมีหลายฟังก์ชัน

     โครงสร้างพื้นฐานของโปรแกรมภาษาซี ประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้  ทำาให้การตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรมง่าย ส่วนนี้อาจจะไม่มีก็ได้ ถ้าเป็นโปรแกรมไม่ซับซ้อน


      1.ส่วนหัว (Header) ประกอบด้วย  และใช้คำาสั่งทั้งหมดอยู่ในฟังก์ชันหลัก (main)

 •  ตัวประมวลผลก่อน (Preprocessor) ใช้สำาหรับให้ตัวแปลภาษาทำาการแปลคำาสั่งที่อยู่ใน

  Header file เช่น stdio.h มีฟังก์ชันมาตรฐานเกี่ยวกับการนำาข้อมูลเข้าออก (Standard   หมายเหตุ


 input/output)  คำาสั่งในภาษาซีต้องปิดตัวประมวลผลก่อนซี/ประกาศตัวแปรหรือฟังก์ชัน

 •  การประกาศต่าง ๆ ที่จำาเป็นในการทำาโปรแกรม เช่น การประกาศตัวแปร การประกาศ

 ฟังก์ชัน และการกำาหนดค่าต่าง ๆ (อาจมีอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งหมด)


 •  หรืออาจเขียนฟังก์ชันบริเวณส่วนหัวนี้ สำาหรับให้ฟังก์ชันหลัก (main) หรือฟังก์ชันอื่นเรียก
                                   ี
                                                         ั
                               ่
 ใช ้          ตัวประมวลผลกอนซ/ประกาศตัวแปรหรือฟงก์ชัน       ส่วนหัว Header ของโปรแกรม
                                                                                 ั
               int main()                                           ส่วนหัวของฟงก์ชัน
                              �
                                  ั
   2. ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main function) เป็นส่วนหลักของโปรแกรม ประกอบด้วย  {  เริมฟงก์ชันหลัก
                                        ิ
                                        �
 •  ส่วนหัวฟังก์ชันหลัก (main) ประกอบด้วย ชนิดของข้อมูล ชื่อฟังก์ชัน ตามด้วย  การประกาศตัวแปรท้องถน ;                     ส่วนการประกาศตัวแปร
                    �
                                                                           �
               คําสังต่าง ๆ ;                                                         ส่วนคําสัง
 เครื่องหมาย ( และ ) ตามลำาดับ  return 0;                                                         ส่งค่าให้ฟงก์ชัน
                                                                            ั
 •  ส่วนเริ่มต้น { และสิ้นสุด } ของฟังก์ชันหลัก (main)  }                                                           สิ�นสุดฟงก์ชันหลัก
                                                                          ั
 •  ส่วนประกาศตัวแปรท้องถิ่น อยู่ในเครื่องหมาย { }  ฟงก์ชันย่อย()                                            ส่วนการเขยนฟงก์ชันย่อย
                                                                                   ั
                 ั
                                                                               ี
     ใช้สำาหรับประกาศตัวแปรชนิดต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูลระหว่างการประมวลผล
 •  ส่วนคำาสั่งต่าง ๆ อยู่ในเครื่องหมาย { }


     ประกอบด้วยคำาสั่งที่เกี่ยวข้องกับการรับเข้า แสดงผลข้อมูล และคำาสั่งประมวล อื่น ๆ อาจ

 มีการเรียกใช้ฟังก์ชันที่ประกาศหรือเขียนไว้ในส่วนหัว

 •  ส่วนส่งค่าให้ฟังก์ชัน main อยู่ในเครื่องหมาย { }  หมายเหตุ { เป็นส่วนเริ่ม และ } เป็นส่วนสิ้นสุด ของฟังก์ชันหลัก (main)

     ประกอบด้วย คำาสั่ง return ตามด้วยค่าข้อมูล (การส่งค่า 0 หมายถึง แจ้งฟังก์ชัน main


 ว่าโปรแกรมทำางานถูกต้อง)
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45