Page 62 - การพัฒนาการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องภาษาซี
P. 62
หน่วยที่ 5 คำาสั่งควบคุมแบบทางเลือก 56 หน่วยที่ 5 คำาสั่งควบคุมแบบทางเลือก 57
.................................................................................................................................................
................................................................................................................................................. คำาสั่ง อาจเป็นคำาสั่งอย่างง่าย หรือคำาสั่งเชิงประกอบ ตามตัวอย่างที่ 4.1.1
2. คำาสั่ง if และ if-else ตัวอย่างที่ 4.1.1 โปรแกรมทายตัวเลข1
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รูปแบบของคำาสั่ง if เป็นดังนี้ 1 2 //Program: Guess1.c
3 #define TARGET 25
4 #include <stdio.h>
5
6 void main() {
if (เงื่อนไขทางเลือก) 7 int y;
8
คำาสั่ง; 10 printf("Enter integer value: ");
9
11 scanf("%d",&y);
12 if (y == TARGET);
13 printf("\nYour guess is correct.");
14 printf("\nGood bye.\n");
15
16 getch();
17 }
ผลลัพธ์ของการรันครั้งที่ 1 คือ
Enter integer value: 18
Good bye.
ผลลัพธ์ของการรันครั้งที่ 2 คือ
Enter integer value: 25
Your guess is correct.
ผังงานของคำาสั่ง if Good bye.
จากการรันครั้งที่ 1 ตัวแปร y (ในบรรทัดที่ 7) รับค่าจากแป้นพิมพ์ เท่ากับ 18
เงื่อนไขทางเลือก ที่เขียนอยู่ระหว่างเครื่องหมาย ( และ ) เป็นนิพจน์ใด ๆ ที่สามารถประเมิน (ในบรรทัดที่ 10) นิพจน์เปรียบเทียบ y == TARGET (ในบรรทัดที่ 12) จะมีค่าเป็นเท็จ
ค่าได้ แล้วฟังก์ชัน printf( ) (ในบรรทัดที่ 13) จะไม่ได้ถูกประมวลผล แต่ไปประมวลผลต่อในคำา
ในกรณีที่ เงื่อนไขทางเลือก มีค่าเป็น จริง และไม่เท่ากับ 0 สั่งถัดไป (ในบรรทัดที่ 14) และจนจบโปรแกรม
• จะประมวลผลคำาสั่ง
ในกรณีที่ เงื่อนไขทางเลือก มีค่าเป็น เท็จ และเท่ากับ 0 จากการรันครั้งที่ 2 ตัวแปร y รับค่าจากแป้นพิมพ์ เท่ากับ 25 ทำาให้นิพจน์เปรียบเทียบ
• จะไม่ประมวลผลคำาสั่ง y == TARGET มีค่าเป็นจริง แล้วฟังก์ชัน printf( ) (ในบรรทัดที่ 13) ถูกประมวลผล แล้ว
ประมวลผลต่อในคำาสั่งถัดไปจนจบโปรแกรม