Page 63 - การพัฒนาการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องภาษาซี
P. 63
หน่วยที่ 5 คำาสั่งควบคุมแบบทางเลือก 58 หน่วยที่ 5 คำาสั่งควบคุมแบบทางเลือก 59
.................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................
3. คำาสั่ง if-else ผลลัพธ์ คือ
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่าง Enter integer value: 18
Your guess is incorrect.
รูปแบบของคำาสั่ง if – else เป็นดังนี้ Good bye.
if (เงื่อนไขทางเลือก)
คำาสั่ง1; จากผลลัพธ์ตัวอย่างที่ 4.1.2 ตัวแปร y รับค่าจากแป้นพิมพ์ เท่ากับ 18 นิพจน์เปรียบ
else เทียบ y == TARGET จะมีค่าเป็นเท็จ จะไม่ประมวลผลฟังก์ชัน printf( ) ในบรรทัดที่ 13
คำาสั่ง2; แต่ฟังก์ชัน printf( ) ในบรรทัดที่ 15 จะถูกประมวลผลแทน แล้วไปประมวลผลต่อในคำาสั่ง
ถัดไป (ในบรรทัดที่ 16) จนจบโปรแกรม
จะเห็นได้ว่าคำาสั่ง if และคำาสั่ง if – else ทำาให้เกิดทางเลือกของการประมวลผลภาย
ใต้เงื่อนไขที่กำาหนดโดยนิพจน์ที่อยู่ต่อจาก if ในคำาสั่ง if ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จคำาสั่งที่อยู่หลัง
เงื่อนไขจะไม่ถูกประมวลผล สำาหรับในกรณีคำาสั่ง if – else จะมีเพียงคำาสั่งหนึ่งคำาสั่งใด
เท่านั้นที่จะถูกประมวลผล ซึ่งจะประมวลผลคำาสั่งใดขึ้นอยู่กับค่าความจริงของเงื่อนไข
ผังงานของคำาสั่ง if-else
1 //Program: Guess2.c
2
3 #define TARGET 25
4 #include <stdio.h>
5
6 void main() {
7 int y;
8
9 printf("Enter integer value: ");
10 scanf("%d",&y);
11
12 if (y == TARGET)
13 printf("Your guess is correct.");
14 else
15 printf("Your guess is incorrect.");
16 printf("\nGood bye.\n");
17
18 getch();
19 }