Page 115 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 115
114 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
ี
๕. กำรขอให้พิจำรณำคดีเป็นกำรลับ ในคดีท่เด็กเป็นผู้เสียหายหรือเป็นพยาน
ี
�
ี
ในคดีความผิดเก่ยวกับเพศ ให้พนักงานอัยการพึงให้ความสาคัญ ท่จะแถลงศาลขอให้มีการ
�
พิจารณาคดีเป็นการลับ โดยพนักงานอัยการจะต้องปฏิบัติตามระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
ว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๑๐๕
�
๖. กำรพิจำรณำคดีลับหลังจ�ำเลย จะพิจารณาคดีลับหลังจาเลยได้ ในกรณ ี
ดังต่อไปนี้
(๑) กรณีท่ศาลเห็นว่าจาเลยไม่ควรฟังคาให้การของพยานในตอนหน่งตอนใด
ี
�
�
ึ
ี
ิ
�
�
ั
ศาลมอานาจส่งให้จาเลยออกไปนอกห้องพจารณาได้ แต่เม่อศาลส่งให้จาเลยกลับเข้ามาฟัง
ื
ั
�
ี
�
ี
การพิจารณา ศาลต้องแจ้งข้อความท่พยานเบิกความไปแล้วให้จาเลยทราบเท่าท่ศาลเห็นสมควร
ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๑๐๙
ี
ั
�
(๒) กรณีท่จาเลยไม่สามารถฟังการพิจารณา และศาลเห็นสมควร ศาลจะส่งให้
ี
ี
�
ี
สืบพยานในข้อท่ไม่เก่ยวกับประเด็นท่ว่าจาเลยได้กระทาความผิดตามฟ้องหรือไม่ลับหลัง
�
ึ
ั
จาเลยได้ แต่ต้องกระทาต่อหน้าทปรกษากฎหมายของจาเลยนน ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
�
้
ี
�
่
�
มาตรา ๑๒๗
๗. กรณีจ�ำเลยหลบหนีระหว่ำงพิจำรณำ
หากจาเลยหลบหนีหลังจากศาลมีคาส่งประทับรับฟ้องแล้ว ศาลจะส่งจาหน่ายคด ี
ั
�
�
�
ั
ชั่วคราว และออกหมายจับจ�าเลย เมื่อจับจ�าเลยได้มาแล้ว ศาลจะยกคดีขึ้นพิจารณาต่อไป
ในกรณีน้ให้พนักงานอัยการเจ้าของสานวนทาความเห็นใน อ.ก. ๑๔ เสนอหัวหน้า
�
ี
�
ึ
ั
ื
พนักงานอัยการเพ่อส่งให้เก็บสานวนรอไว้จนกว่าจะจับตัวจาเลยได้และศาลยกคดีข้นพิจารณา
�
�
ต่อไป
๘. กำรท�ำรำยงำนกำรคดี
พนักงานอัยการทุกคนจะต้องท�าบันทึกการด�าเนินคดีทุก ๆ เรื่องในแบบ อ.ก. ๑๓
ี
(รายงานการคดี) ให้ได้ความเพียงพอท่จะทราบว่า ในการดาเนินคดีในคร้งใดหรือในวันใด
�
ั
ี
พนักงานอัยการคนใดได้จัดการเก่ยวกับคดีไปอย่างใด ถ้าเหตุท่ได้จัดการไปน้นสมควรจะให้
ั
ี