Page 117 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 117
116 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
�
อันสาคัญของประเทศ พนักงานอัยการจะต้องเสนอความเห็นต่อหัวหน้าพนักงานอัยการ
ื
ี
่
็
ั
ั
ั
ี
ั
ั
็
ั
หากหวหน้าพนกงานอยการเหนพ้องด้วย หรอในกรณทหวหน้าพนกงานอยการเหนเอง
�
ให้ทาความเห็นตามลาดับช้นเสนอต่ออัยการสูงสุดเพ่อพิจารณาส่งตามระเบียบสานักงาน
�
�
ื
ั
ั
ั
ี
อัยการสูงสุดว่าด้วยการส่งคดีอาญาท่จะไม่เป็นประโยชน์แก่สาธารณชน หรือจะมีผลกระทบต่อ
�
ิ
ั
ความปลอดภัยหรือความม่นคงของชาต หรือต่อผลประโยชน์อันสาคัญของประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๔
ข้อ ๕ (ดูผนวก ๔๐)
๑๐. มำตรกำรพิเศษแทนกำรด�ำเนินคดีอำญำหลังฟ้อง
ี
�
ิ
ในคดีท่มีการฟ้องเด็กหรือเยาวชนเป็นจาเลยในความผดทางอาญาต่อศาล และ
�
อยู่ในเง่อนไขซ่งศาลอาจใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาเพ่อให้จัดทาแผนแก้ไข
�
ึ
ื
ื
�
บาบัดฟื้นฟูเด็กหรือเยาวชนตามพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๐ หากพนักงานอัยการพิจารณา
ิ
�
ื
็
ิ
ตามสานวนการสอบสวนและรายงานการสบเสาะของสถานพนจแล้ว เหนว่า ศาลอาจใช้
มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาแก่เด็กหรือเยาวชนได้ ให้พนักงานอัยการทาความเห็น
�
�
ั
ื
ื
ั
�
ื
เสนอหัวหน้าพนักงานอัยการเพ่อพิจารณาส่งย่นคาร้องต่อศาลเพ่อขอให้ศาลส่งให้มีการ
�
�
�
จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูตามกฎหมายต่อไป ตามระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการ
ด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๑๙๗ โดย พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๐ มีหลักเกณฑ์ ดังนี้
(๑) มีการฟ้องคดีต่อศาล ว่าเด็กหรือเยาวชนกระท�าความผิดอาญา ซึ่งมีอัตราโทษ
จ�าคุกอย่างสูงไม่เกินยี่สิบปี ไม่ว่าจะมีโทษปรับหรือไม่ก็ตาม
ี
�
�
�
(๒) เด็กหรือเยาวชนต้องไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่สุดให้จาคุก
มาก่อน เว้นแต่เป็นความผิดที่ได้กระท�าโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๓) ก่อนมีค�าพิพากษา เด็กหรือเยาวชนส�านึกในการกระท�า
(๔) ผู้เสียหายยินยอมและโจทก์ไม่คัดค้าน หากโจทก์คัดค้านก็ใช้มาตรานี้ไม่ได้
(๕) พฤติการณ์แห่งคดีไม่เป็นภัยร้ายแรงต่อสังคมเกินสมควร
(๖) ศาลเห็นว่าเด็กหรือเยาวชนอาจกลับตนเป็นคนดีได้
(๗) ผู้เสียหายอาจได้รับการชดเชยเยียวยาตามสมควร