Page 124 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 124
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 123
�
ึ
หากผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติหรือผู้บัญชาการซ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของพนักงาน
ู
ั
้
ี
ู
ื
่
็
ี
ี
ั
ิ
้
้
้
ี
ุ
์
้
ุ
สอบสวนผรบผดชอบแลวแตกรณ มความเหนแยง และอยการสงสดชขาดใหอทธรณ หรอฎกา
หรือไม่ พนักงานอัยการผู้รับผิดชอบต้องด�าเนินการต่อไปตามอ�านาจหน้าที่ดังกล่าว
้
ั
่
ี
ี
้
ู
(๓) คดทอยการสงสดชขาดให้ฟอง หรอใหอทธรณในปญหาข้อกฎหมาย ระเบยบ
ื
้
ุ
์
ี
ั
ี
ุ
�
สานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีอาญาฯ ไม่ได้กาหนดแนวทางปฏิบัติไว้ จึงต้อง
�
�
ื
อุดช่องว่างระเบียบโดยถ้าอัยการสูงสุดมิได้มีคาส่งเป็นอย่างอ่น ก่อนมีคาส่งไม่อุทธรณ์หรือ
�
ั
ั
�
ุ
ู
ั
ั
้
้
้
ุ
ี
้
ั
่
ไมฎกาในปญหาขอกฎหมาย พนกงานอยการควรรายงานใหอยการสงสดทราบพรอมดวยเหตผล
ั
�
�
เพ่อให้สอดคล้องกับคดีธรรมดา ตามระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีอาญา
ื
ชั้นศาลสูงของพนักงานอัยการ พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๓๕
�
(๔) ในการดาเนินคดีอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ พนักงาน
อัยการไม่ต้องมีความเห็นและค�าสั่งใน อ.ก.๑๔ แต่ให้ส่งส�าเนาค�าพิพากษาของศาลชั้นต้นหรือ
�
�
�
ศาลอุทธรณ์ และกรณีท่ยังไม่ได้รับสาเนาคาพิพากษา ให้พนักงานอัยการส่งย่อคาพิพากษา
ี
ของศาลช้นต้นหรือศาลอุทธรณ์ตามแบบ อ.ก.๑๔ แล้วแต่กรณีไปให้สานักงานอัยการสูงสุด
�
ั
พิจารณาทันที ตามหนังสือส�านักงานอัยการสูงสุด ด่วนที่สุด ที่ อส ๐๐๐๓(อก)/ว ๕๔ ลงวันที่
๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ (ดูผนวก ๒๐)
(๕) การฟัง การรับทราบคาพิพากษาหรือคาส่งศาล เป็นหน้าท่ของพนักงานอัยการ
�
�
ั
ี
เจ้าของส�านวน เว้นแต่มคาส่งแต่งต้งพนักงานอัยการเวรช ให้พนักงานอัยการเวรช้เป็น
ี
้
ี
ี
�
ั
ั
�
ี
ั
�
ผู้รับผิดชอบในการฟังและรับทราบการอ่านคาพิพากษาหรือคาส่งของศาลในวันท่ตนเอง
รับผิดชอบ ตามระเบียบส�านักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญา ฯ ข้อ ๑๓๕
ื
ื
�
(๖) การย่นคาร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์ และฎีกา และการย่นคาร้องขอ
�
�
�
คัดคาพิพากษาหรือคาส่งของศาลช้นต้น อุทธรณ์ หรือฎีกา ตลอดจนถ้อยคาสานวนของศาล
ั
�
�
ั
เป็นหน้าที่ของพนักงานอัยการเจ้าของส�านวน
ส่วนการคัดค�าพิพากษาของศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกา ให้ปฏิบัติตาม
ระเบียบส�านักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญา ฯ ข้อ ๑๓๖