Page 127 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 127
126 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
อาจกลับตนเป็นคนดีได้โดยไม่ต้องฟ้อง ถ้าพนักงานอัยการเห็นชอบด้วย ให้มีอ�านาจสั่งไม่ฟ้อง
�
ี
ั
เด็กหรือเยาวชนน้นได้ และคาส่งไม่ฟ้องของพนักงานอัยการให้เป็นท่สุด โดยไม่ต้องเสนอ
ั
�
ู
ั
ิ
ผู้ว่าราชการจังหวด หรือผ้บัญชาการตารวจแห่งชาต หรือผ้บัญชาการหรือ รองผ้บัญชาการ
ู
ู
ซ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของพนักงานสอบสวน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ึ
มาตรา ๑๔๕ ๑๔๕/๑ แต่ต่างกันท่ตามพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๘๖ ผู้อานวยการสถานพินิจ
ี
�
�
ื
�
�
จะต้องจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเพ่อให้เด็กหรือเยาวชนปฏิบัติก่อน โดยแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ู
ดังกล่าวต้องได้รับความยินยอมจากเด็กหรือเยาวชน และผู้เสียหายหากคดีน้นมีผู้เสียหาย
ั
เม่อพนักงานอัยการเห็นชอบกับแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูแล้ว ต้องรายงานให้ศาลทราบ ถ้าศาล
�
ื
ั
�
�
ั
่
เหนว่ากระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟไม่ชอบด้วยกฎหมาย ศาลจะสงตามทเหน
ู
็
ี
็
่
สมควรได้ และศาลต้องสั่งภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงาน ทั้งนี้ ตามข้อก�าหนดของ
่
ั
ื้
ั
�
่
ู
้
�
้
ั
ิ
ประธานศาลฎีกาวาด้วยแนวทางการพจารณากระบวนการจดทาแผนแกไขบาบดฟนฟชนกอน
�
�
ี
ฟ้องคด และข้อกาหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยแนวทางการพิจารณากระบวนการจัดทา
แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูชั้นก่อนฟ้องคดี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ (ผนวก ๖๖)
�
ึ
การพิจารณาว่าเด็กหรือเยาวชนซ่งต้องหาว่ากระทาความผิดคนใดอาจกลับตน
เป็นคนดีได้โดยไม่ต้องฟ้องและควรใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาช้นก่อนฟ้องคด ี
ั
�
ี
กับเด็กหรือเยาวชนคนน้นหรือไม่ เป็นอานาจของผู้อานวยการสถานพินิจท่จะต้องพิจารณา
ั
�
�
โดยมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
ี
๑. ต้องเป็นคดีอาญาท่เด็กหรือเยาวชนต้องหาว่ากระทาความผิดซ่งมีอัตราโทษ
�
ึ
อย่างสูงตามที่กฎหมายก�าหนดไว้ ให้จ�าคุกไม่เกิน ๕ ปี ไม่ว่าจะมีโทษปรับด้วยหรือไม่ก็ตาม
๒. เด็กหรือเยาวชนนั้นไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่สุดให้จาคุก
�
ี
�
�
เว้นแต่เป็นโทษในความผิดที่กระท�าโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
๓. เด็กหรือเยาวชนส�านึกในการกระท�าก่อนฟ้องคดี
๔. ผู้อ�านวยการสถานพินิจพิจารณาโดยเมื่อค�านึงถึง อายุ ประวัติ ความประพฤติ
สติปัญญา การศึกษาอบรม สภาพร่างกาย สภาพจิต อาชีพ ฐานะ และเหตุแห่งการกระท�าผิด
แล้ว เห็นว่าเด็กหรือเยาวชนอาจกลับตนเป็นคนดีได้โดยไม่ต้องฟ้อง