Page 130 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 130
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 129
๕. ในการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ผู้อ�านวยการสถานพินิจจะต้องเชิญฝ่ายเด็ก
�
หรือเยาวชน ซ่งต้องหาว่ากระทาความผิด ฝ่ายผู้เสียหาย และนักจิตวิทยา หรือนักสังคม
ึ
สงเคราะห์ เข้าร่วมประชุม และหากเห็นสมควรอาจเชิญผู้แทนชุมชน หรือหน่วยงานที่มีหน้าที่
เกี่ยวข้องหรือได้รับผลกระทบจากการกระท�าผิด หรือพนักงานอัยการด้วยก็ได้
�
�
ื
�
๖. แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ อาจกาหนดให้ว่ากล่าวตักเตือน กาหนดเง่อนไขให้เด็ก
ู
หรือเยาวชนปฏิบัติ ก�าหนดให้ชดใช้เยียวยาความเสียหาย ก�าหนดให้ท�างานบริการสังคมหรือ
ึ
ทางานสาธารณประโยชน์ไม่เกินสามสิบช่วโมง หรือกาหนดให้นามาตรการอย่างหน่งอย่างใด
�
ั
�
�
หรือหลายอย่างมาใช้เพ่อประโยชน์ในการแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเด็กหรือเยาวชน โดยมีระยะเวลาใน
ื
�
ี
�
ึ
้
ื
ี
การปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูต้องไม่เกินหน่งปี ท้งน เพ่อแก้ไขปรับเปล่ยนความประพฤต ิ
ั
ของเด็กหรือเยาวชน บรรเทา ทดแทน หรือชดเชยความเสียหาย หรือเพ่อให้เกิดความปลอดภัย
ื
แก่ชุมชนและสังคม
๗. แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูต้องไม่มีลักษณะเป็นการจ�ากัดสิทธิหรือเสรีภาพของเด็ก
ื
ึ
หรือเยาวชน เว้นแต่เป็นการกาหนดข้นเพ่อประโยชน์ของเด็กหรือเยาวชนน้น หรือเพ่อคุ้มครอง
ื
ั
�
ิ
๓
ประโยชน์สาธารณะและไม่มีลักษณะเป็นการละเมิดศักด์ศรีความเป็นมนุษย์ ของเด็กหรือ
เยาวชน
�
๘. หากจาเป็น เพ่อประโยชน์ในการคุ้มครองเด็กหรือเยาวชน แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ู
�
ื
ดังกล่าวอาจก�าหนดให้ บิดา มารดา ผู้ปกครอง บุคคลหรือองค์การที่เด็กหรือเยาวชนอาศัยอยู่
ปฏิบัติด้วยก็ได้
๙. แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ตามมาตรา ๘๖ วรรคท้ายนี้ ต้องได้รับความยินยอมจาก
เด็กหรือเยาวชน และผู้เสียหายด้วยหากคดีนั้นเป็นคดีที่มีผู้เสียหาย
๓
ี
คาว่า “ศักด์ศรีความเป็นมนุษย์” น้น คณะทางานของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๔๐ ช้แจงว่า
�
ิ
�
ั
เป็นสิทธิอย่างหน่งที่รับรองคุ้มครองให้แก่บุคคลมิให้ได้รับการปฏิบัติท่ไม่สมกับความเป็นมนุษย์ของบุคคลน้น โดยพิจารณาว่า
ี
ึ
ั
การกระท�าใดที่เห็นกันทั่วไปว่าละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มิใช่พิจารณาตามความคิดเห็นของแต่ละบุคคล