Page 135 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 135
134 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
�
ั
�
บาบัดฟื้นฟูเด็กหรือเยาวชนน้นได้ถูกต้อง และพึงตระหนักว่า แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเด็กหรือ
็
ั
ื
็
ั
เยาวชนแต่ละคนจะต้องเหมาะสมกบตวเดกหรอเยาวชนแต่ละคนไปด้วย แม้เดกหรอเยาวชน
ื
นั้นจะได้กระท�าความผิดร่วมกัน
ึ
ี
อน่ง ในกรณีท่เด็กหรือเยาวชนกระทาความผิดต่อกฎหมายอาญาท่มีผลกระทบ
ี
�
ต่อการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) อันเป็นการ
ื
�
ฝ่าฝืนพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๘ และกฎหมาย
ี
�
ี
ึ
ื
ี
ื
อ่นท่เก่ยวข้อง ซ่งเป็นความผิดท่มีอัตราโทษอย่างสูงให้จาคุกไม่เกินห้าปี และอยู่ในเง่อนไข
ของการใช้มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญาชั้นก่อนฟ้องได้ นั้น ส�านักงานอัยการสูงสุด
เคยก�าหนดแนวทางปฏิบัติในกรณีที่ผู้อ�านวยการสถานพินิจพิจารณาเห็นสมควรด�าเนินการใช้
ั
�
มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาช้นก่อนฟ้องไว้ ตามหนังสือสานักงานอัยการสูงสุดท ี ่
�
อส ๐๐๐๑/ว ๑๕๖ ลงวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๓ (ผนวก ๖๘) ดังนี้
ี
๑. ให้หัวหน้าพนักงานอัยการท่รับผิดชอบดาเนินคดีเยาวชนและครอบครัว
�
ี
ี
วางแนวทางร่วมกับผู้อานวยการสถานพินิจ และหน่วยงานอ่นท่เก่ยวข้องในการใช้มาตรการ
ื
�
�
ั
พิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาช้นก่อนฟ้อง โดยการปฏิบัติต่อเด็กหรือเยาวชนท่ต้องเข้าสู่
ี
กระบวนการจดทาแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟ ตามแนวทางมาตรการป้องกนหรือข้อปฏิบตในการ
ั
ิ
ั
�
ั
�
ั
ู
ื
หยุดการแพร่ระบาดของโรคติดเช้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของรัฐบาลและหน่วยงาน
ี
ี
ั
้
ท่เก่ยวข้อง ท้งน ให้ใช้ดุลพินิจพิจารณาตามความเหมาะสมตามบริบทของแต่ละภูมิประเทศ
ี
ภูมิสังคม ลักษณะและเหตุแห่งการกระท�าความผิด รวมทั้งความปลอดภัยสาธารณะ
๒. ให้พนักงานอัยการที่เข้าร่วมประชุมจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู และพนักงาน
ี
�
อัยการท่พิจารณาให้ความเห็นชอบกับแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ปฏิบัติตามหนังสือสานักงานอัยการ
ู
�
สูงสุด ด่วนที่สุด ที่ อส ๐๐๒๗(ปผ)/ว ๑๒๗ ลงวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ข้อ ๔ และข้อ ๕
�
(ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีอาญาฯ ข้อ๑๙๔, ๑๙๕) โดยคานึงถึง
�
�
�
ประโยชน์สูงสุดของเด็กหรือเยาวชน ในการกาหนดมาตรการป้องกันหรือข้อปฏิบัติในการ
หยุดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) อาทิ การกักตัวในบ้าน