Page 137 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 137
136 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) หลักฐานการให้ความยินยอมของเด็กหรือเยาวชน ได้แก่ หนังสือให้ความยินยอม
�
�
ในการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูของเด็กหรือเยาวชนและหนังสือให้ความยินยอมตามแผน
แก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูของเด็กหรือเยาวชน
(๖) ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวเด็กหรือเยาวชน
�
(๗) บันทึกคาให้การของผู้กล่าวหาหรือผู้เสียหาย (ซ่งสถานพินิจอาจขอได้จาก
ึ
ื
ี
พนักงานสอบสวน) ถ้าม เพ่อใช้พิจารณาว่าเด็กหรือเยาวชนได้กระทาความผิดตามท่ถูกกล่าวหา
�
ี
จริงหรือไม่
(๘) หนังสือแจ้งการจับกุมหรือแจ้งการด�าเนินคดีแก่เด็กหรือเยาวชนของพนักงาน
สอบสวน
�
ื
�
(๙) หลักฐานแสดงวันท่เด็กหรือเยาวชนสานึกในการกระทา (เน่องจาก พ.ร.บ.
ี
ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๘๗ กาหนดไว้ว่าจะต้องจัดท�าแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูให้แล้วเสร็จและเสนอให้
�
�
ี
�
�
พนักงานอัยการพิจารณาภายในสามสิบวันนับแต่วันท่เด็กหรือเยาวชนสานึกในการกระทา)
ซ่งได้แก่ บันทึกที่พนักงานคุมประพฤติของสถานพินิจรายงานให้ผู้อานวยการสถานพินิจทราบ
ึ
�
(๑๐) นอกจากตรวจเอกสารหลักฐานดังกล่าวในข้อ ๑ - ๙ แล้ว ให้ตรวจข้อหาและ
�
ี
ี
อัตราโทษท่เด็กหรือเยาวชนถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิดว่าอยู่ในหลักเกณฑ์ท่จะใช้มาตรการ
พิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญาตามมาตรา ๘๖ หรือไม่
ี
ั
(๑๑) แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูของสถานพินิจฯ ท่จะรับไว้พิจารณาน้น ควรปรากฏ
�
ข้อเท็จจริงให้เพียงพอวินิจฉัยว่าผู้ต้องหากระทาความผิด พร้อมท้งข้อมูลประวัติของผู้ต้องหา
�
ั
ตามสมควรเพื่อประกอบการพิจารณาสั่ง
�
(๑๒) เมื่อตรวจพิจารณาครบถ้วนถูกต้องแล้ว ให้จัดทาและลงสารบบ คดีมาตรการ
�
พิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา (สานวน ม.พ.) โดยนาสารบบ ส.๑ มาใช้โดยอนุโลม ตามระเบียบ
�
�
ส�านักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๑๙๔ วรรคเจ็ด