Page 141 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 141
140 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
ู
�
๓. ในการพิจารณากระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ศาลอาจเรียก
�
ื
�
ี
ี
ผู้อานวยการสถานพินิจ พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือบุคคลอ่นท่เก่ยวข้องมาสอบถาม
หรือมีค�าสั่งให้ส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อศาลเพื่อประกอบการพิจารณาได้
๔. ในกรณีท่ศาลพิจารณาแล้วไม่มีเหตุอันควรสงสัยว่ากระบวนการจัดทาแผนแก้ไข
�
ี
บ�าบัดฟื้นฟูไม่ชอบด้วยกฎหมาย ศาลจะแจ้งให้ผู้อ�านวยการสถานพินิจทราบ
ี
ั
ี
่
ั
�
่
ิ
�
้
่
้
๕. ในกรณทศาลพจารณาแล้วเห็นวา กระบวนการจดทาแก้ไขบาบดฟนฟูไมชอบดวย
ื
กฎหมาย ศาลจะมีค�าสั่งตามที่เห็นสมควร แล้วแจ้งค�าสั่งดังกล่าวพร้อมเหตุผลให้ผู้อ�านวยการ
สถานพินิจทราบเพื่อส่งคดีเข้าสู่การด�าเนินคดีตามปกติต่อไป
ี
�
๖. ในกรณีท่มีคาร้องขอหรือศาลเห็นเองว่ามีเหตุอันควรสงสัยว่ากระบวนการจัดทา
�
แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูอาจไม่ชอบด้วยกฎหมาย ให้ศาลหมายเรียกบุคคลท่เก่ยวข้องมาสอบถาม
ี
�
ี
หรือไต่สวนแล้วแต่กรณี แล้วมีค�าสั่งตามที่เห็นสมควร
๗. ศาลต้องมีคาส่งภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันได้รับรายงานจากสถานพินิจว่าพนักงาน
�
ั
อัยการให้ความเห็นชอบกับแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๘๖ วรรคสอง แล้ว
ข้อสังเกต ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๘๖ วรรคสาม ใช้ถ้อยคาว่า “ให้ศาล
�
พิจารณาสั่งตามที่เห็นสมควร” จึงบงชี้ใหเห็นเจตนารมณของมาตราดังกลาวใหศาลตรวจสอบ
้
์
่
้
่
ี
ั
�
�
กระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูอีกช้นหน่งก่อน และให้ศาลสั่งตามท่เห็นสมควร อันเป็น
ึ
�
ั
ดุลพินิจเด็ดขาดของศาลช้นต้น ผู้อานวยการสถานพินิจหรือพนักงานอัยการไม่มีสิทธิอุทธรณ์
ค�าสั่งศาลดังกล่าว (ค�าพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๒๐/๒๕๕๗, ๑๒๒๓/๒๕๕๗)
ขั้นตอนปฏิบัติของพนักงำนอัยกำรหลังจำกศำลมีค�ำสั่ง
ู
หลังจากศาลพิจารณาเห็นว่ากระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ชอบด้วย
�
�
�
ี
กฎหมายแล้ว ผู้อานวยการสถานพินิจจะดาเนินการให้ผู้มีหน้าท่ปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัด
�
�
ั
ฟื้นฟ ปฏบัติตามให้เป็นไปแก้ไขบาบดฟื้นฟูและรายงานให้พนกงานอัยการทราบว่าผู้มหน้าท ่ ี
ั
�
ิ
ี
ู
ู
�
ปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูครบถ้วนหรือไม่ และหากเป็น
�