Page 145 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 145
144 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
�
ั
�
�
ี
โดยหักระยะวลาต้งแต่วันท่ผู้อานวยการสถานพินิจมีหนังสือแจ้งการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ู
ผู้ต้องหาต่อศาล อันเป็นวันเริ่มจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู จนถึงวันที่พนักงานสอบสวนได้รับ
�
�
แจ้งจากผู้อานวยการสถานพินิจว่าให้ดาเนินคดีกับผู้ต้องหาต่อไป ตามคาพิพากษาศาลอุทธรณ์
�
คดีช�านัญพิเศษ ที่ ๒๓๕๑/๒๕๖๑ ซึ่งพนักงานอัยการอาจใช้เป็นแนวทางในการด�าเนินคดีได้
กำรใช้ดุลพินิจเพื่อใช้มำตรกำรพิเศษแทนกำรด�ำเนินคดีอำญำชั้นก่อนฟ ้อง
�
ี
ในสานวน ส.๑ ท่พนักงานสอบสวนส่งมาให้พนักงานอัยการพิจารณา ถ้าเป็นคด ี
ี
ี
ึ
�
ท่เด็กหรือเยาวชนต้องหาว่ากระทาความผิดซ่งมีอัตราโทษอย่างสูงตามท่กฎหมายกาหนดไว้
�
ให้จ�าคุกไม่เกินห้าปี ไม่ว่าจะมีโทษปรับด้วยหรือไม่ก็ตาม และเป็นคดีที่อยู่ในเงื่อนไขซึ่งอาจใช้
มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาช้นก่อนฟ้องได้ แต่ผู้อานวยการสถานพินิจไม่ได้ใช้
�
�
ั
มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา หากพนักงานอัยการพิจารณาเห็นว่าการใช้มาตรการ
�
�
ั
พิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาจะเป็นประโยชน์สูงสุดแก่เด็กหรือเยาวชน น้น พนักงานอัยการ
�
จะต้องปฏิบัติตามระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๑๙๖
�
โดยในเรื่องดังกล่าวส�านักงานคดีเยาวชนและครอบครัวเคยมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้
๑. พนักงานอัยการควรเรียกเด็กหรือเยาวชนและผู้เสียหาย (ถ้ามี) มาพบพนักงาน
อัยการเพื่อซักถามในเรื่องความยินยอมให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูก่อน
�
๒. หากปรากฏว่าเด็กหรือเยาวชนและผู้เสียหาย (ถ้ามี) ยินยอมให้จัดทาแผนแก้ไข
�
ั
ู
�
บาบัดฟื้นฟ ให้พนักงานอัยการเจ้าของสานวนเสนอความเห็นตามลาดับช้นจนถึงรองอธิบด ี
�
อัยการ หรือรองอธิบดีอัยการภาคเพื่อพิจารณาสั่ง
๓. หากรองอธิบดีอัยการ หรือรองอธิบดีอัยการภาคไม่เห็นชอบด้วย ให้หัวหน้า
พนักงานอัยการด�าเนินคดีต่อไป
๔. หากรองอธิบดีอัยการ หรือรองอธิบดีอัยการภาคเห็นชอบด้วย ให้พนักงานอัยการ
�
แจ้งผู้อานวยการสถานพินิจเพ่อพิจารณาดาเนินการ โดยส่งสาเนาบันทึกถ้อยคาของเด็กหรือ
ื
�
�
�
เยาวชนและผู้เสียหาย (ถ้ามี) ไปให้ด้วย และเก็บส�านวนรอผลการด�าเนินการของผู้อ�านวยการ
สถานพินิจก่อนที่จะพิจารณาสั่งคดีต่อไป