Page 150 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 150
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 149
๓.๑ ตรวจพิจำรณำส�ำนวนทั่วไป
การตรวจพิจารณาส�านวนทั่วไป ให้ค�านึงถึง เขตอ�านาจสอบสวน เขตอ�านาจศาล
ิ
�
�
อายุความ และความครบถ้วนหรือสมบูรณ์ของเอกสารในสานวน อาท คาให้การของผู้กล่าวหา
หลักฐานทางราชการ แสดงอายุของเด็ก คาให้การของผู้ต้องหา บันทึกการจับกุม บันทึก
�
ความยินยอมให้ตรวจปัสสาวะและผลการตรวจพิสูจน์หาสารเสพติดในปัสสาวะผู้ต้องหา
ี
�
�
จากสถานตรวจพิสูจน์ท่ส่วนราชการกาหนด ตามหนังสือสานักงานอัยการสูงสุด ด่วนมาก
ที่ อส (สฝปผ.)๐๐๑๘/ว ๒๖๒ ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ (ดูผนวก ๑๒) และแบบพิมพ์
ลายน้วมือ (หากมีรายการประวัติการกระทาผิด ให้พนักงานสอบสวนตรวจสอบผลคด เน่องจาก
�
ิ
ื
ี
๔
ี
พ.ร.บ.ฟื้นฟูฯ มาตรา ๑๙ ได้กาหนดว่าผู้ท่จะเข้ารับการฟื้นฟูต้องไม่ปรากฏว่าต้องหาหรืออยู่ใน
�
ึ
ระหว่างถูกดาเนินคดีความในความผิดฐานอ่น ซ่งเป็นความผิดท่มีโทษจาคุกหรืออยู่ในระหว่าง
�
ี
ื
�
ุ
รบโทษจาคกตามคาพพากษาของศาล ตาม พ.ร.บ.ฟนฟฯ) โดยสานวนดงกลาวจะตองมรายงาน
ิ
�
�
ั
้
่
ั
�
ื
้
ี
ู
การสอบสวนพร้อมความเห็นของพนักงานสอบสวนด้วย
๓.๒ ตรวจพิจำรณำค�ำร้องตรวจสอบกำรจับกุม
เม่อมีการจับกุมเด็กหรือเยาวชนซ่งกระทาความผิดแล้ว พนักงานสอบสวนต้องนาตัว
ึ
ื
�
�
เด็กหรือเยาวชนไปศาลภายใน ๒๔ ชั่วโมง นับแต่เด็กหรือเยาวชนไปถึงที่ท�าการของพนักงาน
สอบสวน ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๗๒, ๗๓ โดยพนักงานสอบสวนมีหน้าที่ในการยื่น
�
ึ
คาร้องตรวจสอบการจับกุมต่อศาลเพ่อให้ศาลตรวจสอบว่าเป็นเด็กหรือเยาวชนซ่งต้องหาว่า
ื
กระทาความผิดหรือไม่ การจับและการปฏิบัติต่อเด็กหรือเยาวชนเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย
�
หรือไม่ อย่างไรก็ตามแม้ศาลตรวจสอบการจับแล้วปรากฏว่าการจับกุมเป็นไปโดยมิชอบ ก็จะ
ปล่อยตัวเด็กหรือเยาวชนไปไม่ได้ เน่องจากการจับกุมท่มิชอบเป็นคนละส่วนกันกับการดาเนินคด ี
�
ี
ื
ฟื้นฟูฯ ซ่งแยกต่างหากจากกัน เน่องจากศาลต้องพิจารณาและมีคาส่งให้ส่งตัวเด็กหรือเยาวชน
ื
�
ึ
ั
ไปตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติด ตาม พ.ร.บ.ฟื้นฟูฯ มาตรา ๑๙ ตามคาร้องของ
�
พนักงานสอบสวนด้วย
๔
ี
่
ี
�
ิ
โปรดดูคาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ท ๒-๒๕๖๒ ท่วินิจฉัยว่าผู้ต้องหามีสิทธิปฏิเสธการพิมพ์ลายน้วมือได้ พนักงานสอบสวน
ไม่สามารถบังคับได้ ประกอบด้วย