Page 138 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 138
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 137
๓. กำรพิจำรณำสั่งคดีมำตรกำรพิเศษแทนกำรด�ำเนินคดีอำญำชั้นก่อนฟ้อง
ื
�
เม่อพนักงานอัยการได้รับแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูและความเห็นของผู้อานวยการ
�
ึ
�
�
�
สถานพินิจซ่งลงรับเป็นสานวนมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา (สานวน ม.พ.) แล้ว
พนักงานอัยการจะต้องด�าเนินการ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๘๖ วรรคสองและระเบียบ
ส�านักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๓๓, ๑๙๔ ดังนี้
�
�
๑. ทาความเห็นและคาส่งใน อ.ก. ๔ โดยเร็ว โดยพิจารณาจากข้อเท็จจริง
ั
ข้อกฎหมาย และเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง และมีแนวทางการสั่งคดี ดังนี้
(๑) หากมีข้อสงสัย หรือข้อเท็จจริงยังไม่เพียงพอวินิจฉัย ให้สอบถามผู้อ�านวยการ
ี
ี
ั
ื
สถานพินิจหรือบุคคลท่เก่ยวข้อง เพ่อสืบเสาะข้อเท็จจริงมาประกอบการพิจารณาส่งคด เช่น
ี
สงสัยแผนมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘๗ วรรค ๒, ๓, ๔ หรือมิได้เป็นไปตามระเบียบท ่ ี
อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนก�าหนด
�
(๒) ถ้าข้อเท็จจริงได้ความว่าเด็กหรือเยาวชนไม่ได้กระทาความผิด หรือการกระทา
�
ั
ื
ี
ของเด็กหรือเยาวชนไม่เป็นความผิด หรือมีเหตุอ่นท่ควรส่งไม่ฟ้องตามกฎหมาย พนักงานอัยการ
ต้องมีค�าสั่งไม่เห็นชอบกับแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
ู
�
(๓) หากพนักงานอัยการไม่เห็นชอบด้วยกับแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ พนักงานอัยการ
อาจสั่งให้แก้ไขแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู หรือสั่งให้ด�าเนินคดีต่อไปแล้วแต่กรณี
ั
�
�
�
ถ้าส่งให้ดาเนินคดีต่อไปให้ผู้อานวยการสถานพินิจแจ้งคาส่งของพนักงานอัยการ
ั
ี
ี
ให้พนักงานสอบสวนและผู้เก่ยวข้องทราบ ได้แก่ ผู้ต้องหา บิดา มารดา หรือบุคคลท่เด็กอาศัยอย ู่
�
ี
ื
ด้วยทราบ เหตุท่แจ้งให้พนักงานสอบสวนทราบก็เพ่อให้พนักงานสอบสวนดาเนินการสอบสวน
ี
ต่อไปหลังจากท่ต้องงดการสอบปากคาหรือดาเนินการใด ๆ เฉพาะกับเด็กหรือเยาวชนไว้
�
�
ี
ตามมาตรา ๘๙ โดยไม่ให้นับระยะเวลาท่จัดทาและปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเข้ารวม
�
�
ในก�าหนดระยะเวลาการฟ้องคดีตาม มาตรา ๗๘