Page 136 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 136
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 135
ี
ื
ี
ี
เป็นระยะเวลา ๑๔ วัน หรือการงดไปสถานท่ชุมชนหรือสถานท่เส่ยงต่อการติดเช้อ และให้ถือเป็น
สาระส�าคัญที่ให้เด็กหรือเยาวชนปฏิบัติตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
๒. กำรตรวจรับส�ำนวนมำตรกำรพิเศษแทนกำรด�ำเนินคดีอำญำช้นก่อนฟ้อง
ั
(ส�ำนวน ม.พ.)
�
�
การตรวจรับและการพิจารณาสานวนมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา
�
ั
�
ี
ช้นก่อนฟ้อง (สานวนคด ม.พ.) ควรพิจารณาเอกสารหลักฐานประกอบในสานวน และลงสารบบ
รับส�านวน ดังนี้
(๑) หนังสือแจ้งความเห็นของผู้อ�านวยการสถานพินิจ
ื
�
ให้ตรวจหนังสอความเหนว่ามีการลงนามโดยผู้อานวยการสถานพินจหรอผ้รกษา
็
ื
ู
ั
ิ
ราชการแทนหรือไม่ ถ้าไม่ใช่ให้ส่งคืน เพราะต้องถือว่าความเห็นที่ส่งมานั้นไม่ใช่ความเห็นของ
ผู้อ�านวยการสถานพินิจ ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๘๖ ประกอบมาตรา ๔
(๒) แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
ให้ตรวจแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูว่ามีการลงลายมือช่อของเด็กหรือเยาวชนผู้ต้องหา
ื
�
หรือไม่ หากไม่มีการลงลายมือชื่อของเด็กหรือเยาวชน อาจถือว่าแผนการแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูนั้น
ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
(๓) บันทึกการประชุมจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
(๔) กรณีคดีมีผู้เสียหาย ให้ตรวจหลักฐานการให้ความยินยอมของผู้เสียหาย ได้แก่
�
หนังสือให้ความยินยอมในการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูและหนังสือให้ความยินยอมตามแผน
�
�
แก้ไขบาบัดฟื้นฟูของผู้เสียหาย ในกรณีท่มีผู้เสียหายหลายคนผู้เสียหายทุกคนต้องให้ความ
ี
ยินยอมด้วย
กรณีผู้เสียหายเป็นนิติบุคคล ต้องมีหนังสือรับรองการเป็นนิติบุคคลประกอบมาด้วย
หากมีการมอบอานาจให้บุคคลใดกระทาการแทนนิติบุคคลในเร่องการให้ความยินยอมดังกล่าว
�
�
ื
ต้องมีหนังสือมอบอ�านาจประกอบมาด้วยเช่นกัน