Page 69 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 69
68 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
(๓) คดีที่ฐานความผิดเป็นประเภทเดียวกัน
ี
�
กรณีในคดีท่ฐานความผิดเป็นประเภทเดียวกัน เช่น ฐานทาร้ายร่างกายกับ
�
ฐานทาร้ายร่างกายถึงอันตรายสาหัส ฐานความผิดลักทรัพย์กับชิงทรัพย์ ถ้าพนักงานอัยการ
สั่งฟ้องในความผิดที่มีอัตราโทษสูงกว่า เช่น สั่งฟ้องผู้ต้องหาฐานท�าร้ายร่างกายถึงสาหัส หรือ
ั
ี
้
ั
�
ส่งฟ้องผู้ต้องหาฐานชิงทรัพย์เช่นน พนักงานอัยการไม่ต้องส่งไม่ฟ้องผู้ต้องหาฐานทาร้ายร่างกาย
หรือฐานลักทรัพย์ ซึ่งเป็นความผิดที่มีอัตราโทษต�่ากว่าอีก ทั้งนี้ ตามระเบียบส�านักงานอัยการ
สูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๘๕
(๔) คดีที่เลือกปรับบท
�
ี
กรณีในคดีท่เลือกปรับบท คือ กรณีการกระทาความผิดอันเป็นกรรมเดียว
ื
�
ั
ู
แต่พนกงานสอบสวนได้ทาการสอบสวนหรอแจ้งข้อหาแก่ผ้ต้องหามาหลายฐานความผิด
�
ื
เพ่อให้เลือกปรับบทระหว่างการกระทาความผิดฐานลักทรัพย์ กรรโชก รีดเอาทรัพย์ ฉ้อโกง
้
โกงเจ้าหน ยักยอก รับของโจร และทาให้เสียทรัพย์ หรือระหว่างการกระทาความผิดโดยเจตนา
ี
�
�
กับประมาท เม่อพนักงานอัยการมีคาส่งฟ้องผู้ต้องหาในความผิดฐานใดฐานหน่งหรือ
�
ั
ื
ึ
ื
ั
�
�
หลายฐานแล้ว ไม่ต้องมีคาส่งไม่ฟ้องในความผิดฐานอ่นอีก ตามระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด
ว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๘๖
(๕) ความเป็นเอกภาพในการสั่งคดี
ี
ในการสงคดทมผู้ต้องหาหลายคนและหรือหลายฐานความผดอยู่ในเขต
ิ
่
ั
ี
่
ี
อานาจศาลต่างกัน เช่น ในคดีเดียวกันมีผู้ต้องหา ๒ คน ผู้ต้องหาคนหน่งอยู่ในเขตอานาจ
�
ึ
�
ึ
�
ของศาลคดีศาลธรรมดา ผู้ต้องหาอีกคนหน่งอยู่ในเขตอานาจของศาลเยาวชนและครอบครัว
ี
เป็นต้น พนักงานอัยการท่ได้รับสานวนคดีดังกล่าวจะต้องปฏิบัติตามระเบียบสานักงานอัยการ
�
�
สูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๔๖ และหนังสือส�านักงานอัยการสูงสุด ที่ อส (สฝอส.)
๐๐๑๕/๒๑๕๓ ลงวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓ (ผนวก ๒๒) ดังนี้
่
�
๑. ก่อนพิจารณาสงคด ให้พนักงานอัยการทได้รับสานวนตรวจสอบไปยัง
ั
่
ี
ี
สานักงานอัยการท่เก่ยวข้องว่าได้รับสานวนคดีแล้วหรือไม่ แล้วทาบันทึกการตรวจสอบดังกล่าว
ี
ี
�
�
�
ไว้ใน อ.ก.๑๓ ติดส�านวนไว้