Page 84 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 84
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 83
ั
�
�
ั
นอกจากพนักงานอัยการมีคาส่งฟ้อง หรือคาส่งไม่ฟ้องผู้ต้องหาดังกล่าวแล้ว
ในบางกรณีพนักงานอัยการอาจมีค�าสั่งอย่างอื่นตามกฎหมายและระเบียบได้ กล่าวคือ
๑. กรณีสั่งยุติการด�าเนินคดี
ในการพิจารณาสานวนการสอบสวน พนักงานอัยการต้องพิจารณาเร่องเง่อนไข
ื
�
ื
ิ
ั
ื
่
ั
ั
ระงบคดีก่อน หากข้อเท็จจรงปรากฏว่าเข้าเงอนไขระงับคดีตามระเบยบสานกงานอยการสูงสด
ุ
�
ี
ว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๔๘ พนักงานอัยการต้องออกค�าสั่งยุติการด�าเนินคดี
�
ั
ี
ี
�
ั
ั
หากมีของกลางในสานวนท่ส่งยุติการดาเนินคดีท้งคด พนักงานอัยการต้องส่งให้
จัดการเกี่ยวกับของกลางตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๕ ด้วย
�
ั
ั
ี
ึ
อน่ง หากพนักงานอัยการมีความเห็นและคาส่งยุติการดาเนินคดีก็ด หรือส่งไม่ฟ้อง
�
็
ี
ิ
่
ื
ิ
ื
็
กด แต่เมอพจารณาจากรายงานการสบเสาะข้อเทจจริงของสถานพินจและคุ้มครองเดกและ
็
เยาวชนแล้วเห็นว่าเด็กหรือเยาวชนมีความประพฤติเส่ยงต่อการกระทาความผิด พนักงาน
ี
�
�
ี
อัยการควรแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าท่ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก พิจารณาดาเนินการ
คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กต่อไป ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กฯ มาตรา ๔๔
ข้อสังเกต
�
๑. แม้ว่าการส่งยุติการดาเนินคดีไม่ปรากฏใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ั
ความอาญา ก็ตาม แต่ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้พิจารณาแล้วมีความเห็นว่า
�
การสั่งยุติการด�าเนินคดีของพนักงานอัยการเป็นการสั่งคดีเพราะมีเหตุตาม ประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ ท�าให้สิทธิน�าคดีอาญามาฟ้องระงับไปก่อนที่จะพิจารณา
สั่งฟ้องหรือสั่งไม่ฟ้องในเนื้อหาคดี การสั่งคดีเช่นนี้ จึงมิใช่ค�าสั่งไม่ฟ้องตาม ประมวลกฎหมาย
ี
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๔๓ และการท่สิทธินาคดีอาญามาฟ้องต้องระงับไปเพราะ
�
เหตุตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ นั้นเป็นไปโดยผลของกฎหมาย
�
ั
ั
�
�
�
มิใช่เกิดจากคาส่งยุติการดาเนินคดีของพนักงานอัยการ คาส่งยุติการดาเนินคดีของพนักงาน
ื
่
�
่
่
ี
ี
�
ั
ั
ิ
ี
�
อยการเป็นเพยงคาสงเพอดาเนนการให้เกดผลในการทสทธินาคดอาญามาฟ้องระงบตามท ี ่
ิ
ั
ิ
กฎหมายบัญญัติไว้เท่าน้น ตามหนังสือสานักงานอัยการสูงสุด ท อส(สฝปผ.)๐๐๑๘/ว ๒๕
ี
ั
�
่
ลงวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑