Page 89 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 89
88 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
ได้ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๗, ๓๘ ไม่ต้องถูกด�าเนินคดีในศาล
ิ
่
เช่นเดยวกับผู้ใหญ่ จึงได้มีการแก้ไขเพมเติม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ ตามพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
ี
�
ี
ิ
่
ี
(ฉบับท ๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยเพ่มเติมความเป็นมาตรา ๖๙/๑ ว่า ในคดีท่เด็กกระทาการ
�
ั
อันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด โดยความผิดน้นกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอานาจเปรียบเทียบ
ของพนักงานสอบสวนหรือเจ้าพนักงานอื่น หากเป็นการกระท�าครั้งแรก ให้พนักงานสอบสวน
หรือเจ้าพนักงานอื่นนั้นเรียกเด็ก บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลหรือผู้แทนองค์กรซึ่งเด็ก
นั้นอาศัยอยู่ด้วย มาว่ากล่าวตักเตือน ถ้าเด็กส�านึกในการกระท�า และบิดา มารดา ผู้ปกครอง
หรือบุคคลหรือผู้แทนองค์กรซึ่งเด็กนั้นอาศัยอยู่ด้วย สามารถดูแลเด็กได้ ก็ให้งดการสอบสวน
และปล่อยตัวไป
ี
มาตรา ๖๙/๑ น ถือเป็นการหันเหคดีออกจากกระบวนการยุติธรรมในช้น
ั
้
ื
พนักงานสอบสวนหรือเจ้าพนักงานอ่น ดังน้น เม่อพนักงานสอบสวนงดการสอบสวนแล้ว
ื
ั
ี
�
�
�
จึงไม่ต้องส่งสานวนการสอบสวนท่ได้กระทาไปแล้วก่อนดาเนินการตามมาตรา ๖๙/๑
ให้พนักงานอัยการพิจารณาอีก เพราะมิใช่เป็นการงดการสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธ ี
�
พิจารณาความอาญา มาตรา ๑๔๐ หากพนักงานสอบสวนส่งสานวนการสอบสวนมา พนักงาน
อัยการต้องมีค�าสั่งไม่รับส�านวนคดีดังกล่าว
กำรท�ำควำมเห็นและค�ำสั่งในส�ำนวน ส.๒
�
�
ั
การทาความเห็นและคาส่งในสานวน ส.๒ เม่อพนักงานอัยการพิจารณา
ื
�
ื
พยานหลักฐานในสานวน ส.๒ แล้วเห็นว่า น่าเช่อว่าผู้ต้องหากระทาความผิด ให้มีความเห็นและ
�
�
ั
่
ั
้
ั
ิ
่
ื
้
ู
็
่
้
ั
คาสงเหนควรสังฟองและเสนอผบญชาการตารวจแหงชาตหรอผวาราชการจงหวด จดการใหได ้
�
่
�
ู
้
ั
�
ตัวผู้ต้องหามาภายในอายุความ แต่หากพยานหลักฐานไม่พอฟังว่า ผู้ต้องหาได้กระทาความผิด
ให้มีความเห็นและคาส่งไม่ฟ้องผู้ต้องหา แล้วจึงเสนอผู้บัญชาการตารวจแห่งชาต หรือ
�
ิ
�
ั
ผู้บัญชาการซ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
ึ
ี
่
แล้วแต่กรณี โดยถือปฏิบัติตามหนังสือสานักงานอัยการสูงสุด ด่วนท่สุด ท อส ๐๐๐๗(พก)/
ี
�
�
ี
ว ๑๙๔ ลงวันท ๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ (ดูผนวก ๔๐) ด้วย และหากบุคคลผู้มีอานาจดังกล่าว
่
มีความเห็นแย้ง ต้องเสนออัยการสูงสุดเพ่อช้ขาดคด ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ื
ี
ี
ความอาญา มาตรา ๑๔๕ และมาตรา ๑๔๕/๑