Page 91 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 91
90 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
้
ี
�
�
ในคดีประเภทไม่ปรากฏตัวผู้กระทาความผิด (สานวน ส.๓) น แม้จะปรากฏ
�
ในสานวนการสอบสวนว่ามีของกลางด้วยก็ตาม แต่พนักงานอัยการไม่ต้องมีความเห็นและ
คาส่งเก่ยวกับของกลาง ตามระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีอาญาฯ
�
�
�
ั
ี
ข้อ ๕๘ วรรคสอง
ี
�
ในกรณีท่พนักงานสอบสวนทาการสอบสวนต่อไปแล้วปรากฏตัวผู้กระทาผิด
�
ขึ้นมา หรือกรณีที่สั่งงดการสอบสวนแล้วต่อมารู้ตัวผู้กระท�าผิด พนักงานสอบสวนจะต้องสรุป
ั
สานวนทาความเห็นใหม่เป็นควรส่งฟ้อง หรือควรส่งไม่ฟ้องผู้ต้องหาก่อนส่งสานวนให้พนักงาน
�
�
�
ั
อัยการรับไว้ เป็นส�านวน ส.๑ หรือส�านวน ส.๒ แล้วแต่กรณี (ควรหมายเหตุในสารบบ ส. ๓
ว่า โอนไปลงสารบบ ส.๑ หรือ ส.๒ แล้วแต่กรณีด้วย)
�
ี
ั
�
ในกรณีท่สานวนการสอบสวนมีท้งกรณีปรากฏตัวผู้กระทาความผิดและ
ไม่ปรากฏตัวผู้กระทาความผิด ให้ถือว่าเป็นสานวนประเภทปรากฏตัวผู้กระทาผิด พนักงาน
�
�
�
�
�
ี
ั
ื
ี
อยการไม่ต้องมีคาส่งเก่ยวกบเร่องท่ไม่ปรากฏตัวผู้กระทาความผิด ตามระเบียบสานักงาน
�
ั
ั
อัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๓๓ วรรคสาม
กำรบรรยำยฟ้อง
�
ี
การบรรยายฟ้องในคดีอาญาท่เด็กหรือเยาวชนกระทาผิดน้น นอกจากจะยึดหลัก
ั
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๕๘ แล้ว จะต้องระบุฐานความผิดและ
็
บรรยายข้อเทจจรงให้ครบถ้วนตามองค์ประกอบฐานความผดตามประมวลกฎหมายอาญา
ิ
ิ
ู
�
ั
โดยทาเป็นคาฟ้องเตมตามรปแบบใช้ภาษาอย่างถกต้อง ใช้ถ้อยคากะทดรด ไม่ฟ่มเฟือย
�
ุ
�
ู
็
ั
แต่ต้องไม่ขาดข้อความจนเป็นเหตุให้จาเลยหลงต่อสู้ หรือไม่ทราบว่าจะต่อสู้คดีอย่างไร
�
โดยปฏิบัติตามระเบียบส�านักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๙๔, ๙๕, ๙๖,
๙๗ และ ๙๘ และหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง
นอกจากการบรรยายฟ้องตามวรรคหน่งแล้ว พนักงานอัยการยังต้องบรรยายฟ้อง
ึ
�
�
ี
โดยคานึงถึงข้อเท็จจริงในสานวนการสอบสวนท่เป็นคุณแก่ผู้ต้องหาและเป็นเหตุบรรเทาโทษ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๖๔, ๖๕, ๖๖, ๖๗, ๖๙, ๗๒ และ ๗๘ หากมีข้อเท็จจริง
ดังกล่าว ให้บรรยายฟ้องให้ตรงข้อเท็จจริงน้น ๆ และต้องระบุมาตราดังกล่าวในค�าขอท้ายฟ้อง
ั