Page 92 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 92
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 91
ด้วย เพื่อให้ศาลใช้ประกอบดุลพินิจในการก�าหนดโทษ การลงโทษ รวมทั้งมาตรการอื่นที่ศาล
�
ี
�
�
จะใช้แก่ผู้กระทาผิดเท่าท่สามารถจะทาได้ ตามระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการ
ดาเนินคดีอาญา ฯ ข้อ ๙๔ (๓) และหนังสือสานักงานอัยการสูงสุด ท อส (สฝปผ.)๐๐๑๘/ว ๖๖
�
ี
�
่
ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ (ผนวก ๔๘)
ื
เพ่อเป็นการสนับสนุนให้การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในประเทศไทย
ึ
�
มีประสิทธิภาพย่งข้น พนักงานอัยการต้องพิจารณาข้อเท็จจริงในสานวนการสอบสวนด้วยว่า
ิ
มีกรณีท่ผู้ต้องหาให้ความร่วมมือต่อทางราชการโดยการให้ข้อมูลท่สาคัญ และเป็นประโยชน์
�
ี
ี
�
ิ
ี
อย่างย่งในการปราบปรามการกระทาความผิดเก่ยวกับยาเสพติดให้โทษต่อพนักงานฝ่าย
ปกครอง หรือตารวจหรือพนักงานสอบสวน ตามนัยมาตรา ๑๐๐/๒ แห่งพระราชบัญญัต ิ
�
ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ หรือไม่ หากมีข้อเท็จจริงดังกล่าว ให้พนักงานอัยการบรรยาย
ี
ข้อเท็จจริงท่เป็นคุณต่อผู้ต้องหาดังกล่าวในฟ้องและมีคาขอท้ายฟ้องขอให้ศาลลงโทษ
�
�
ั
ี
่
�
�
�
จาเลยน้อยกว่าอัตราโทษข้นตาท่กฎหมายกาหนดด้วย ตามหนังสือสานักงานอัยการสูงสุด
ี
่
ท อส ๐๐๑๖/ว ๑๓๖ ลงวันท ๘ เมษายน ๒๕๔๖ (ผนวก ๔๙) และปฏิบัติตามระเบียบ
่
ี
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดว่าด้วยแนวทางการประสานงานคดียาเสพติด
พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒๕, ๒๖ ด้วย
ี
�
การดาเนินคดีเก่ยวกับการจราจร (การแข่งขันประลองความเร็วกันในระบบ
�
ื
สาธารณะ, ขับรถโดยไม่คานึงถึงความปลอดภัยหรือความเดือดร้อนของผู้อ่น, ขับรถในขณะ
�
เสพยาเสพติดให้โทษ) พนักงานอัยการจะต้องบรรยายถึงพฤติการณ์ในการกระทาผิดให้ศาล
ี
็
่
�
ิ
ื
เหนตามสมควรและขอรบทรพย์สน (รถ) ทใช้ในการกระทาความผด หรอมไว้เพอใช้ในการ
ิ
ื
ี
ั
่
ิ
กระทาความผิดและนามาตรการการพักหรือเพิกถอนใบอนุญาตขับข่ยานพาหนะด้วย
�
ี
�
(ดูผนวก ๒๕ - ๒๙)
�
�
ิ
คาฟ้องคดีเด็กและเยาวชนจะต้องมีรายละเอียดเพ่มเติมจากคาฟ้องคดีธรรมดา
อีกหลายประการ ดังนี้
�
ั
�
(๑) อายุจาเลยต้องระบุท้งอายุในวันฟ้อง และอายุในวันกระทาผิดด้วย โดยระบ ุ
วันเดือนปีเกิดของจาเลยด้วย ถ้าไม่ทราบวันเดือนปีเกิดให้ระบุว่า ตามรายงานแพทย์อายุ......ปี
�
�
ี
นอกจากน้นกรณีท่อายุของจาเลยขณะกระทาความผิด หรือขณะฟ้องมิได้เป็นอายุเต็มบริบูรณ์
�
ั