Page 16 - หนังสือเรื่องเล่าของสัญญา
P. 16

รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ วรปัญญาอนันต์ อดีตผู้อําานวย การสถาบันสัญญา ธรรมศักดิ์ เพ่ือประชาธิปไตย เล่าว่า ในช่วงที่ตนเองเข้า รับตําาแหน่งผู้อาํา นวยการสถาบันสัญญา ธรรมศักด์ิ เพอื่ ประชาธิปไตย ช่วงปี พ.ศ.2548-2550สถาบนั สญั ญาธรรมศกั ด์ิเพอ่ื ประชาธปิ ไตยบรหิ ารงานในลกั ษณะ ของคณะกรรมการ ซึ่่ึงนอกจากท่านศาสตราจารย์พิเศษนรนิติ เศรษฐบุตร ท่านศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ ที่เป็นผู้ริเร่ิมก่อต้ัง ตั้งแต่ยังเป็น ศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จนมาเป็น สถาบันสัญญา ธรรมศักดิ์ เพ่ือประชาธิปไตย ได้มีคณาจารย์หลายท่านมา ชว่ ยงานของสถาบนั ฯ อาทิ ศาสตราจารย์ ดร.อดุ ม รฐั อมฤต ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล ศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม อาจารย์ อรยา สูตะบุตร เป็นต้น ซึ่่ึงกิจกรรมและผลงานท่ีเป็นประเด็นความสนใจ ของประชาชนในขณะนั้น มีหลากหลายกิจกรรม อาทิ ในวันท่ี 6 กันยายน พ.ศ. 2548 มีการจัดเสวนาเร่ือง “พระราชอําานาจของพระมหากษัตริย์” วิทยากรได้แก่ 1. ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในขณะนน้ั 2. คณุ ประมวล รจุ นเสรี ซึ่งึ่ เขยี นหนงั สอื พระราชอําานาจ 3. คณุ สนธิ ลิ้มทองกุล 4. อาจารย์แก้วสรร อติโพธิ ดําาเนินรายการ โดย คณบดี คณะรฐั ศาสตร์ คอื ศาสตราจารย์ ดร.นครนิ ทร์ เมฆไตรรตั น์ ซึ่งึ่ ไดร้ บั ความสนใจ เปน็อยา่งมากหรอืในชว่งการยกรา่งรฐัธรรมนญู ปี2550สถาบนัฯไดร้ว่มกบั สภาวจิ ยั แหง่ ชาติ สาขาวชิ านติ ศิ าสตร์ ซึ่งึ่ ศาสตราจารยพ์ เิ ศษจรญั ภกั ดธี นากลุ เป็นประธาน จัดสัมมนาเรื่อง “ทิศทางการร่างรัฐธรรมนูญใหม่กับท่ีมาของ นายกรฐั มนตร”ี วทิ ยากรประกอบดว้ ย 1.ศาสตราจารยพ์ เิศษจรญั ภกั ดธี นากลุ ซึ่ึ่งมีส่วนในการยกร่างรัฐธรรมนูญ 2. ศาสตราจารย์ ดร. สมคิด เลิศไพฑูรย์ เลขานุการคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล นักวิชาการ นอกจากนี้ มีกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน สถาบันฯ ได้จัดกิจกิจกรรม ในหัวข้อ
“ประสิทธิภาพเรื่องการปราบปรามคอร์รัปชันภาคประชาชน” ในวันที่ 6 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2549 รว่ มกบั เครอื ขา่ ยทางวชิ าการทห่ี ลากหลาย มวี ทิ ยากร คือ 1. ท่านอุดร ตันตสิ ุนทร 2. มิสเตอร์ ปาร์ค วอน ซึุ่น (Park Won-soon) เลขาธิการ People’s Solidarity for Participatory Democracy (PSPD) ผทู้ ปี่ ระสบความสําาเรจ็ กอ่ ตงั้ ภาคประชาชนในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั ของประเทศเกาหลีใต้ และสถาบันฯ ยังได้จัดกิจกรรมทางวิชาการในพื้นที่ ตา่ งจงั หวดั อาทิ จงั หวดั ลําาปาง ในชว่ งทมี่ กี ารเลอื กตงั้ ทอ้ งถน่ิ ในวนั ที่ 5 สงิ หาคม พ.ศ. 2548 และจัดกิจกรรมอีกหลายครั้ง ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศนู ยล์ ําาปาง นอกจากกจิ กรรมทางวชิ าการแลว้ สถาบนั ฯ ยงั ผลติ ผลงานวชิ าการ อาทิ อาจารย์อรยา สูตะบุตรได้จัดทําาบทความทางวิชาการ แบบ Series เก่ียวกับเร่ืองเส้นทางประชาธิปไตยในการพัฒนาประชาธิปไตย ลงใน หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ เป็นเวลา 2 สัปดาห์ สถาบันฯ ได้จัดกิจกรรมทาง วิชาการทหี่ลากหลายและอยใู่นความสนใจของสังคม(HotIssues)
รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ เล่าต่อว่า “เวลานั้น สถาบันฯ มีบุคลากรของสถาบัน คือ ผู้อําานวยการ เจ้าหน้าที่ 1 คน และแม่บ้าน 1 คน แต่เราสามารถทําางานวิชาการได้อย่างเข้มแข็ง รวมไปถึงการจัดอบรม ในเรอื่ งการพัฒนาท้องถิ่น มีการจัดพิมพ์หนังสือ 3 อนุสาวรีย์ คือ อนุสาวรีย์ อาจารย์ปรีดี อนุสาวรีย์อาจารย์ป๋วย อนุสาวรีย์อาจารย์สัญญา ซึ่ึ่งเผยแพร่ ให้แก่นักศึกษาใหม่ของมหาวิทยาลัย อีกทั้ง หนังสือต่างๆ ที่ส่งเสริมด้าน ประชาธปิ ไตย” นอกจากนใี้ นชว่ งทตี่ นเองเปน็ ผอู้ ําานวยการ เปน็ ระยะเวลา 2 ปี ในด้านการบริหารงาน โดยคณะกรรมการอําานวยการฯ ได้เชิญอดีตนายก รัฐมนตรี คุณอานันท์ ปันยารชุน มาเป็นประธานคณะกรรมการอําานวยการ ของสถาบันฯ ซึ่ึ่งท่านเองได้ให้คําาแนะนําาในการทําางานหลายอย่าง รวมถึง ท่านอุดร ตันติสุนทร ได้แนะนําาให้ตนเองทําางานวิชาการ โดยทําาหนังสือที่ แปลรัฐธรรมนูญของประเทศญี่ปุนเพอื่ เป็นตัวอย่างการเขียนรัฐธรรมนูญของ
  14 เรื่องเล่าของสัญญา
เร่ืองเล่าของสัญญา 15






























































































   14   15   16   17   18