Page 220 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 220
152
เรากจ็ ะรชู้ ดั ในรปู ทรี่ ปู รสู้ กึ วา่ รตู้ วั ทวั่ พรอ้ ม รสู้ กึ ถงึ อาการรอบตวั เลย เพราะสตเิ รามกี า ลงั แตถ่ า้ เราพยายาม ที่จะจ้องอาการทีละอย่าง ลองสังเกตดูว่าเราพยายามจ้องอาการปุ๊บนี่นะ แม้แต่จะกะพริบตา พอจ้อง...ทัน ไหม หรือกะพริบไปก่อนแล้วถึงทัน เดี๋ยวแว็บ อ้าว!กะพริบไปแล้ว แล้วไม่ทันก่อนที่จะกะพริบ พอจ้องปุ๊บ ทาไมถึงเป็นอย่างนั้นเรามีเจตนามีเจตนาทจี่ะกาหนดรู้อาการให้ทันแต่สติเราเป็นอย่างไรเขาแคบหรือเขา เล็กไป เพราะฉะนั้นเวลากะพริบปุ๊บไปก่อนแล้วไม่ทัน แต่ถ้าสติเรากว้างกว่ารูปกว้างกว่าตัว ลองดูว่า เวลา จะกะพริบตาเขารู้สึกก่อนไหม...นิดหนึ่ง รู้สึกทันที นั่นคือสติที่มีกาลังรู้สึกได้ทันทีตรงนี้ สติเขาไวรู้สึกได้ เลยว่าแว็บหาย ๆ ไป ตรงนี้แหละเป็นการกาหนดอาการของอิริยาบถย่อย คือการสังเกตที่อาการ สังเกต ใช้ความรู้สึก รู้สึกถึงอาการนั้นทันที ความรู้สึกอันนี้ก็คือตัวสตินั่นเอง
ทีนี้ในการกาหนดอิริยาบถย่อย อย่างที่บอกว่า อาการเหล่านี้ที่มีหลาย ๆ อารมณ์ หลาย ๆ อาการ เกิดขึ้น ลองพิจารณาง่าย ๆ ว่า อาการทางกายที่เกิดขึ้นนั้น ถึงจะมากมายหรือหลายอารมณ์แค่ไหน ก็ตาม แต่ก็เป็นอาการทางกาย และอาการทางกายของเรานี่นะ ส่วนใหญ่เกิดจากจิต จิตที่สั่งให้ทาอาการ เคลอื่ นไหวกะพรบิ ตา ขยบั ...ตรงนกี้ ารมองการเหน็ การดตู า่ ง ๆ กจ็ ติ เปน็ คนสงั่ ใหก้ ระทา อาการทางกายเกดิ ขนึ้ และอาการทางกายนนี่ ะ ถงึ มากแคไ่ หนกไ็ มไ่ ดอ้ ยไู่ กล ไมไ่ ดอ้ ยนู่ อกบรรยากาศของความวา่ ง เพราะฉะนนั้ ถ้าจิตที่ว่าง เป็นตัวคลุมรูปทั้งหมด แล้วจิตที่ว่างทาหน้าที่รับรู้ทุก ๆ อาการทางกายที่เกิดขึ้น จะปรากฏอยู่ ในสายตาของสติตลอดเวลา จะปรากฏอยู่ในสายตาของสติตลอดเวลา ลองสังเกตอย่างนี้นิดหนึ่ง
บางทีโยคีบางคนเคยเห็น เคยเห็น เคยเจอ สภาวะอย่างหนึ่งว่า พอปฏิบัติไปรูปนามแยกจาก กันแล้ว รูปกับนามแยกจากกัน กายกับจิตแยกจากกัน เหมือนมีคนคอยเฝ้าระวังอยู่ข้างหลัง จะขยับจะ เคลื่อนไหวก็เหมือนมีคนคอยกากับอาการทางกายอยู่ บางครั้งเดิน ๆ ไปรู้สึกว่ารูปนี้เหมือนหุ่นยนต์ รูปนี้ เหมือนหุ่นยนต์ เหมือนมีคนคอยกากับคอยสั่ง น่าจะเป็นคนคอยชักใยอยู่ข้างหลัง เหมือนหุ่นพินอคคิโอ ใช่ไหม? เหมือนหุ่นไม้กระบอกเขาก็ชักเขาไปปุ๊บ ๆ ๆ อะไรเป็นคนชัก...ก็คือสติของเราคือต้นจิตนี่แหละ ที่เขาสั่งให้ขยับแล้วเขาก็ขยับตาม ๆ ลองสังเกตดู ถ้าจิตเรามุ่งไปที่อาการแคบ ๆ นี่นะ เราจะไม่ทัน แต่ใน ขณะเดียวกันนะ การที่กาหนดรู้แบบนี้ในอิริยาบถย่อย จิตที่กว้างที่กว้างกว่ารูป กว้างเท่าที่เรารู้สึกสบาย ไม่ต้องกว้างไกลเกินจนสติอ่อนนะ บางคนรู้สึกว่าปล่อยให้กว้างเบา แล้วก็เดินแบบเลื่อนลอย ตัวเบา ลอย ๆ ไม่รู้อะไร สภาวะไม่ชัดเจน...สบายเกิน เขาเรียกว่าสบายจนลืมอารมณ์ปัจจุบัน การให้กว้างเพื่อให้ จิตเรา...เขาเรียกคลายอุปาทานก็จริง...ไม่มีตัวตน ว่างแล้วต้องมีอารมณ์หลัก มารับรู้อาการของอารมณ์ ที่กาลังปรากฏอยู่
ทีนี้อิริยาบถย่อยแยกเป็นส่วน ในขณะที่เรามีบรรยากาศ จิตเรากว้างกว่ารูปปุ๊บ อิริยาบถ...ยก ตัวอย่างอะไรดี ทานอาหารนะ เพราะเราทานทุกวัน ทานทุกวันวันละ ๒ มื้อ น่าจะได้ทางานบ่อย เวลาเรา ทานกค็ อื วา่ เอาความรสู้ กึ ทวี่ า่ ง ๆ กวา้ งกวา่ ตวั แลว้ เรานงั่ อยใู่ นทวี่ า่ ง ๆ สา รวม เวลาเราตกั อาหารจติ ทวี่ า่ ง ๆ รู้สึกถึงอาการเคลื่อนไปตักไปยก เราก็สังเกตอาการตัก...ยกขึ้นมา พอใส่ปากปุ๊บ อาการกระทบปิดปากลง อาการเคี้ยวเป็นอย่างไร เคี้ยวนี่นะ อันนี้อย่างหนึ่งนะ เวลาเคี้ยวอาหารให้จิตว่าง ๆ ไปรับรู้อาการเคี้ยว ให้ สงั เกตอาการกระทบ ระหวา่ งฟนั กบั อาหารนนี่ ะ เคยี้ วอยใู่ นทวี่ า่ ง ๆ แลว้ เกดิ ดบั อยา่ งไร อนั นคี้ อื การพจิ ารณา