Page 227 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 227
159
เคยเห็นไหม เอ่อ!นี่นะพออาจารย์ถาม...เงียบกริบเหมือนกัน สงสัยนะ...ไม่ทัน ตอนนี้เบิกบาน หรือขุ่นหรือสลัว ๆ ...บานนะ อย่าเพิ่งสะลึมสะลือ พออาจารย์พูดจบ...หลับ ไม่เอาล่ะ ธรรมะถ้าเราฟังแล้ว พิจารณาตาม เขาเรียกตรงที่ฟังแล้วทาตามหรือพิจารณาตาม เขาเรียกว่าไล่สภาวะ และเราก็จะเป็นการฟัง แลว้ ทา ทา ไดเ้ ขา้ ถงึ แลว้ จะเหน็ เหน็ อะไร เหน็ ถงึ สภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ เหน็ ถงึ สภาพจติ ทเี่ ปลยี่ นไปถงึ ผลจาก การกระทาของเราว่า ผลจากการปฏิบัติการได้เห็นสภาวธรรมนั้น จิตใจเป็นอย่างไร สภาพจิตเป็นอย่างไร ตรงนี้แหละ เราจะเห็นได้ทันทีว่าสติกับสมาธิสมดุลกันปุ๊บ จิตใจรู้สึกเป็นอย่างไร มันจะมีกาลังมีความตั้ง มั่นมีความผ่องใสขึ้นมา มีความมั่นคงเกิดขึ้น อันนี้เรารู้สึกได้ทันที ไม่ต้องมานั่งคิดทีหลัง ไม่ต้องมานั่งคิด ทีหลัง เอ!เมื่อกี้นี้มั่นคงแล้วตอนนี้ล่ะ...หายแล้ว อันนั้นก็ไม่ทันแล้ว จะได้สานต่อไป
นคี่ อื การกา หนดอาการในอริ ยิ าบถยอ่ ย กา หนดอาการเกดิ ดบั ในอริ ยิ าบถยอ่ ย เพยี งแตต่ อ้ งมคี วาม พอใจ คา วา่ พอใจอกี แลว้ นะ เรามาปฏบิ ตั กิ ต็ อ้ งพอใจอยแู่ ลว้ นะ ไมต่ อ้ งยา้ กไ็ ดห้ รอก อาจารยพ์ ดู ทกุ วนั เลย เพราะอะไร ความพอใจกับการบังคับมีความแตกต่างกันก็คือว่า ถ้าพอใจจะมีความสุขกับการกาหนดรู้ แต่ ถ้าต้องฝืนต้องบังคับ จะมีความรู้สึกว่าต้องอึดอัดนิดหน่อย แต่บางทีก็ต้องใช้ ต้องฝืนตัวเองนิดหนึ่ง จะไม่ ได้ทาตามใจ จะได้รู้สึกว่า เอ่อ!เราต้องขยันนะ ต้องอดทนนะ ต้องสู้นะ ใช้เวลาไม่กี่วัน แล้วเราต้องสู้ให้ได้ แค่ไม่กี่วัน หลังจากนี้ก็ต้องสู้ต่อตลอดชีวิตเรานั่นแหละ คือสภาวธรรมกาหนดแบบนี้
ทีนี้การกาหนดอาการอิริยาบถย่อย ความต่อเนื่อง อย่างเช่นบางที นอกจากอาการของเราเองใน อริ ยิ าบถยอ่ ย อาการเคลอื่ นไหวของกาย อารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ในอริ ยิ าบถยอ่ ย ผสั สะทเี่ กดิ ทางตาทางหทู างจมกู ทางลิ้น หรือทางกายที่กระทบเกิดขึ้น สามารถเอามาเป็นอารมณ์กรรมฐานได้ทั้งหมด ทางหูเวลาได้ยินเสียง คนเดนิ ไดย้ นิ เสยี งลม ไดย้ นิ เสยี งเครอื่ งจกั ร ไดย้ นิ เสยี งแอร์ ทเี่ ราเดนิ ไป หรอื เราอยใู่ นอริ ยิ าบถ...เหมอื นทา นั่งแบบสบาย ๆ ไม่ได้สนใจ ไม่ได้คิดว่าจะนั่งกรรมฐานหรอก! สังเกตไหม โยคีในนี้เคยเจอตรงที่ว่า พอ นั่งผ่อนคลายสบาย ๆ พอนั่งผ่อนคลายสบาย ๆ ไม่ได้มีเจตนาที่จะปฏิบัติธรรมหรอก! แค่นั่งเฉย ๆ แต่ อยู่ ๆ ได้ยินเสียงนาฬิกาดังชัดมากเลย เสียงจังหวะของเข็มนาฬิกาดังแก๊ก ๆ ๆ ขึ้นมานี่นะ ถือโอกาสเลย นั่นคือเป็นอารมณ์เป็นกรรมฐาน มีสติเข้าไปกาหนดอาการเกิดดับของเสียงนาฬิกาได้เลย บางทีเดินเดินไป มองใบไม้ มองไปยืน ๆ นิ่ง ๆ แล้วเห็นใบไม้ไหวพัดมา พัดไปพัดมา มีสติเข้าไปกาหนดรู้อาการไหวของ ใบไม้ว่าเกิดดับอย่างไร กาหนดรู้อาการเกิดดับอันนี้ได้ แม้แต่เสียงนกที่ดังขึ้นมา เสียงนกที่ร้องต่อเนื่องกัน ยาว ๆ นิ่ง! เอาเสียงนั้นมาเป็นอารมณ์กรรมฐาน ยืน ๆ นิ่ง ๆ แล้วก็ไปรู้เสียงนั้นเกิดดับอย่างไร อันนี้เขา เรียกเอาอารมณ์ภายนอกมาเป็นอารมณ์กรรมฐาน
แต่เมื่อไหร่ก็ตาม ที่มีเจตนาแบบนี้เป็นการยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา ก็อยู่ในอารมณ์กรรมฐานทันที ถึง แม้เป็นอิริยาบถย่อย เมื่อเช้าโยคีถามว่า ตอนที่ไปยืนข้างนอกแล้วลมมันพัดกระทบกายนี่นะ ไปยืนอยู่ข้าง นอกห้อง เวลาลมข้างนอกมาพัดกระทบ แล้วสังเกตว่าลมที่เข้ามากระทบกายไม่เหมือนกัน ลมกระทบแล้ว เป็นแผ่นแล้วก็หายไป กระทบแล้วก็ปุ๊บ ๆ ๆ แล้วหายไป กระทบแล้วพลิ้วหายไป กาหนดแบบนี้ได้ไหม... ได้เลย นี่คืออาการผัสสะทางกายที่เกิดขึ้น เราสามารถกาหนดเอามาเป็นอารมณ์กรรมฐานได้เลย ยืนนิ่ง ๆ แล้วก็ไปสังเกตไป สังเกตไป กาหนดรู้อารมณ์แบบนี้ไม่จาเป็นต้องรอ ที่จะมานั่งกรรมฐานก่อนแล้วค่อย