Page 238 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 238

170
หรอื บางที ขณะทเี่ รากวาดใบไมแ้ ลว้ ไมก้ วาดกวาดพนื้ แลว้ มเี สยี งดงั มเี สยี งดงั แกรก๊ ๆ แกรก๊ หาย ๆ กส็ งั เกตอาการ ถา้ เสยี งชดั ไปกา หนดรอู้ าการของเสยี งกวาดทปี่ รากฏขนึ้ มา เคลอื่ นไปแกรก๊ เหมอื นขดี ครงั้ หนึ่ง แล้วมีอาการแกร๊กเป็นเส้น มีอาการสะดุดปุ๊บ ๆ ๆ ดับ ปุ๊บ ๆ ๆ ดับ ปุ๊บ ๆ ๆ ดับ หรือปรืดแล้วก็ดับ ไป พรืดดับไป พอจิตนิ่งมากขึ้น สนใจตั้งสติมากขึ้น อาการที่เป็นพรืดนี่นะ เขาดับอย่างไร จิตดับไปด้วย ไหมในแต่ละขณะ ๆ อันนี้ คือวิธีการกาหนดอาการในอิริยาบถย่อย
แล้วพอเสร็จแล้วมาดูสภาพจิต กลับมาดูสภาพจิตเป็นระยะ พอจบไปปุ๊บ กลับมาดูสภาพจิต จิต รสู้ กึ เปน็ อยา่ งไร หรอื กวาดจบแลว้ รสู้ กึ โลง่ ขนึ้ เบาขนึ้ อนั นกี้ ต็ อ้ งรู้ หรอื จบแลว้ รสู้ กึ นงิ่ ๆ กวาดไปแลว้ กย็ งิ่ กวาดยิ่งนิ่งขึ้น ยิ่งกวาดยิ่งนิ่ง ยิ่งสังเกตอาการเกิดดับ อาการกวาดไปเรื่อย ๆ ๆ จิตยิ่งนิ่งขึ้น ๆ อันนี้อย่าง หนึ่ง คือผลที่ตามมา ผลที่ตามมาคืออาการเกิดดับเปลี่ยนไป สภาพจิตเปลี่ยนไปอย่างไร สังเกตควบคู่กัน หรือบางครั้งพอสังเกตไปเรื่อย อ้าว! บรรยากาศหายไป
พอตามอาการไปเพลิน ๆ บรรยากาศที่รองรับหายไป นิ่งใหม่ ก็ยกจิต ทาจิตให้ว่างให้กว้างขึ้นอีก ให้มีบรรยากาศรองรับอีก สังเกตแบบนี้ไป พอมีอาการเดิน จริง ๆ แล้ว ระหว่างที่เรากวาด กับการกวาด ไปเดินไป จิตเราสามารถสลับได้ เขาสามารถรับรู้สลับได้ว่า ระหว่างอาการกวาด ๆ แล้วก็มาเดิน เดินไป ๒ ก้าว ก็สามารถรับรู้สลับอารมณ์แบบนี้ เพื่อความต่อเนื่องของสติได้ อย่างไรก็รู้อยู่แล้ว อย่างไรก็รู้ อยู่แล้วว่า พอกวาด ๆ ปุ๊บ พอยกไม้กวาดขึ้นมา จะเดินไปกวาดอีกตาแหน่ง อีกที่หนึ่งนี่นะ เราก็ต้องรู้สึก ทันทีว่า จิตมาอยู่ที่เท้า สังเกตอาการเคลื่อนไหวของเท้า ว่ามีอาการอย่างไร แล้วก็สังเกตอาการต่อ ความ ต่อเนื่อง
ถ้าทาต่อเนื่องแบบนี้ได้ จะดีมาก ๆ เลย เพราะจะไม่มีปัญหาตรงที่บรรยากาศรองรับอารมณ์ จะ เป็นตัวป้องกันอารมณ์ภายนอกเข้ามารบกวน กลายเป็นว่าอยู่กับกรรมฐานอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ถ้าเรา อยู่ในอิริยาบถย่อย แล้วมีอารมณ์ มีบรรยากาศรองรับ มีอารมณ์ฌานรองรับ ลองดูว่าสภาพจิตใจขณะนั้น วุ่นวายไหม สงบไหม รู้สึกดีไหม สบายไหม อันนี้คือต้องเป็นสภาวะ ที่โยคีจะต้องสังเกตทั้งหมด
ถ้าอาจารย์บอกว่า เอ่อ! ถ้าเราทา ๆ แล้วมันดีอย่างไร จริง ๆ แล้ว โยคีต้องเป็นคนมาตอบ มาบอก อาจารย์ว่าดีอย่างไร และสาคัญอย่างไร แต่ความสาคัญ สาคัญแน่นอน ถึงความต่อเนื่องของสติ ความต่อ เนื่องของสติ เมื่อมีสติต่อเนื่องแบบนี้ ในอิริยาบถย่อยทุก ๆ อาการ พอกลับมาดูอิริยาบถหลัก อิริยาบถ หลักคือตอนกลับมาเดินจงกรมปุ๊บนี่นะ พอกลับมาเข้ามาสู่กรรมฐาน มาอยู่อิริยาบถหลัก พอเดินจงกรม พอนิ่ง พอเริ่มนิ่งเตรียมตัวที่จะเดินจงกรม บรรยากาศจะปรากฏ บรรยากาศของความรู้สึกที่ว่าง ที่เบา ที่ สงบจะปรากฏขึ้นมา นั่นหมายถึงว่า มีสมาธิรองรับต่อเนื่องได้ทันที
จากนั้น เมื่อกาหนดอาการ ก็มีเจตนาจดจ่อไปที่อาการ อาการเดินว่ามีการเกิดดับอย่างไร ขณะที่ เดินอยู่ในบรรยากาศ เดินแบบนี้ต่อเนื่องไป ๆ เพราะฉะนั้น การที่เรากาหนดอิริยาบถย่อยเป็นสิ่งที่สาคัญ เป็นสิ่งสาคัญเพื่อความต่อเนื่องของสติ แต่ที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือว่า การกาหนดอิริยาบถย่อยนี่นะ อาการเคลื่อนไหวของเรา แก้ปัญหาการ...บางทีเรานั่งแล้วหลับ ๆ ๆ เดินจงกรมก็หลับ เดินจงกรมก็หลับ


































































































   236   237   238   239   240