Page 34 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 34

(35)
ทา่ นแมค่ รจู ดั หาหนงั สอื เรยี นในระดบั อภธิ รรมตรี อภธิ รรมโท และอภธิ รรมเอกใหพ้ ระอาจารยศ์ กึ ษา เป็นการเรียนที่ย้อนจากปรมัตถธรรมซึ่งเป็นของละเอียด มาสู่เรียนรู้ในบัญญัติ เพื่ออธิบายการสัมพันธ์ เชื่อมโยงระหว่างความรู้ตามตารากับสภาวธรรมจริงที่เกิดขึ้น เข้าใจการเกิดดับของวิถีจิต จิตแต่ละดวง เกิดขึ้น รับรู้ครั้งละหนึ่งอารมณ์ แล้วก็ดับไป จิตดวงใหม่เกิดใหม่รับรู้ใหม่ แล้วก็ดับไป เป็นธรรมอันลึกซึ้ง เป็นบรมธรรม เกิดจากภาวนามยปัญญา จากการปฏิบัติเข้าถึงสภาวธรรม เห็นจริงจึงรู้แจ้ง รู้ได้ด้วยตนเอง ไม่ได้คิดเอาเอง โดยสภาวธรรมอันยิ่งใหญ่ เป็นปรมัตถธรรม ซึ่งเป็นบรมธรรมอันสูงสุด เป็นปรมัตถสัจจะ ไม่มีชื่อ ไม่มีรูป แต่รับรู้ได้เมื่อเข้าถึงสภาวธรรมนั้น เข้าถึงในธรรมที่พระพุทธเจ้าสอนไว้ เนื้อแท้แห่งธรรมะ สมัยพุทธกาลเมื่อสองพันกว่าปี กับปัจจุบัน ก็ไม่ได้ห่างไกลกันตามวันเวลา เป็นสัจธรรมที่พิสูจน์ได้ ธรรมะ เป็นอกาลิโก ทนทานต่อการพิสูจน์ไม่ขึ้นอยู่กับกาลเวลา
พระอาจารยม์ กั จะกลา่ วถงึ ทา่ นแมค่ รดู ว้ ยความนอบนอ้ ม ในความเมตตา ความกรณุ าตอ่ เหลา่ ศษิ ย์ ทมุ่ เททงั้ กา ลงั กาย กา ลงั ทรพั ยส์ ว่ นตวั ของทา่ นเอง เพอื่ สรา้ งสา นกั วปิ สั สนาพฒั นาทางจติ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ด้วยความยากลาบาก ยิ่งพระอาจารย์ได้มีโอกาสใกล้ชิดท่าน ได้เห็นถึงปัญญาของท่านแม่ครูที่ลึกซึ้งและ แตกฉานทางธรรม ทั้งตอบคาถามในข้อสงสัยของเหล่าศิษย์ แก้สภาวธรรมให้เหล่าโยคี พระอาจารย์คิด อยู่เสมอ หากตนเองมีปัญญาอย่างท่านสักครึ่ง คงดีไม่น้อย จะไขข้อสงสัยในธรรมให้แก่ผู้สนใจในธรรม
สู่การเป็นวิปัสสนาจารย์
วันหนึ่ง ระหว่างการสนทนาธรรม ท่านแม่ครูถามพระอาจารย์ว่า “ปฏิบัติแล้วคิดจะสอนคนบ้าง ไหม” แม้ในใจไม่คิดอยากจะเป็นวิปัสสนาจารย์หรือคิดอยากจะสอนใคร แต่อีกใจหนึ่งคิดว่า หากสามารถ บอก หรือแนะนาผู้อื่นได้บ้าง ก็คงจะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจในธรรมและกาลังแสวงหาสัจธรรม ท่านถาม ต่อว่า “อยากเรียนวิชาครูไหม” พระอาจารย์คิดว่าเป็นโอกาสดี และเป็นความเมตตาของครูบาอาจารย์ต่อ ท่าน จึงจัดหาดอกไม้ธูปเทียนทาพิธีเพื่อขอเรียนวิชาครู
การเรียนวิชาครู ต้องเริ่มต้นจากการจดจาสภาวะของโยคีแต่ละคนที่พระอาจารย์สอบอารมณ์ เพื่อแยกแยะสภาวะบัญญัติ ปรมัตถ์ ของโยคีแต่ละคน แต่ละบังลังก์ให้ได้อย่างชัดเจน แล้วนาไปเล่าให้ ท่านแม่ครูฟัง โยคีแต่ละคนสภาวะเป็นอย่างไร หากเล่าไม่ละเอียด ไม่ชัดเจน หรือข้ามไป ท่านจะถาม “โยคี คนนอี้ ยญู่ าณไหน” ทา่ นจะชแี้ นะใหเ้ นน้ ในจดุ ทสี่ า คญั แตจ่ ะไมเ่ ฉลย แลว้ ใหพ้ ระอาจารยก์ ลบั ไปฟงั โยคใี หม่ เ พ อื ่ พ จิ า ร ณ า ท บ ท ว น ส ภ า ว ญ า ณ ข อ ง โ ย ค ี ม า เ ล า่ ใ ห ท้ า่ น ฟ งั ใ น ว นั ถ ดั ม า ท า่ น แ ม ค่ ร ใู ห ค้ ว า ม ส า ค ญั ก บั ก า ร เ ป น็ วิปัสสนาจารย์เป็นอย่างยิ่ง ต้องแยกแยะชัดเจน ระหว่างบัญญัติกับปรมัตถ์ รู้ชัด รู้จริง ไม่คลุมเครือ จึงจะ สอนผู้อื่นได้ถูกต้อง ในช่วงฝึกวิชาครูโดยการสอนโยคี ท่านรู้สึกเหนื่อยกับการสอนโยคี จึงมีคาถามกับ ท่านแม่ครู “ทาไมโยคีไม่ตั้งใจฟัง ฟังก็ไม่ค่อยเข้าใจ ไม่ค่อยใส่ใจ รู้สึกสอนยากจัง” ท่านแม่ครูก็ตอบพระ อาจารย์ “ถ้าเขาเก่ง เขาก็เป็นครูบาอาจารย์แล้ว เรามีหน้าที่สอนก็สอนไป” หลังจากวันนั้นเป็นต้นมาท่าน ไม่มีคาถามอีกเลย ตั้งหน้าตั้งตาทุ่มเททาหน้าที่ของวิปัสสนาจารย์เปี่ยมด้วยความเมตตาต่อเหล่าศิษย์ ไม่ ว่าโยคีจะไม่เข้าใจ ไม่ใส่ใจ ท่านก็เมตตาสอนซ้าไม่เคยแสดงท่าทีตาหนิโยคีผู้ใดจวบจนกระทั่งทุกวันนี้


































































































   32   33   34   35   36