Page 32 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 32

กว่าจะได้เรียนวิชากับท่านแม่ครู
หลังกลับจากสานักวิปัสสนาพัฒนาทางจิต มาจาพรรษาที่ถ้าพุทธโคดม จิตมุ่งไปที่ตรัง ทุก ๆ วัน หลังเสร็จกิจบิณฑบาต ฉันอาหารเสร็จท่านจะนั่งที่ชะง่อนผาหิน หันหน้าไปทางตรัง นับวันรอเมื่อไหร่จะ ถึงวันออกพรรษา หลังออกพรรษา ท่านกับพระอีกรูปหนึ่ง ท่านมงคล ก็ออกเดินทางเข้าสานักวิปัสสนา พัฒนาทางจิต ตั้งใจจะขอปฏิบัติธรรมกับท่านแม่ครูสักระยะหนึ่ง ไม่ได้คิดว่าจะอยู่นาน ครั้นมาถึงสานัก วิปัสสนา สมัยนั้นสานักตั้งอยู่ในสวนยางพารา ท่านพระอาจารย์พักกุฏิที่ ๔ หน้าศาลาธรรมรัตนะ ห่างจาก กุฏิท่านแม่ครูไม่ถึงร้อยเมตร แต่ไม่เคยได้พบท่านแม่ครูตลอดเวลาสามเดือน ท่านไม่สะดวกพบกับ พระสงฆ์ ท่านก็ทางานของท่าน
จวบจนวนั หนงึ่ ขณะทพี่ ระอาจารยก์ า ลงั ทาสปี รบั ปรงุ โรงทาน จงึ ไดพ้ บทา่ นแมค่ รู และไดส้ นทนากนั ตอนหนึ่งท่านแม่ครูเห็นความมุ่งมั่นตั้งใจของพระอาจารย์ รอที่จะเรียนการปฏิบัติธรรมตลอดสามเดือน จึงถามว่า “พระคุณเจ้า จะเป็นการเสียศักดิ์ศรีไหม ถ้าดิฉันจะถวายความรู้” ภายในใจรู้สึกดีใจอย่างบอก ไม่ถูกกับสิ่งที่รอคอย จึงตอบตรงไปตรงมา “อาตมาไม่มีศักดิ์ศรี” วันนั้นจึงเป็นวันที่ท่านแม่ครูนิมนต์พระ อาจารย์เข้ามาที่ศาลาธรรมรัตนะเพื่อถวายความรู้ครั้งแรก ภายในศาลาท่ามกลางเหล่าโยคีทั้งหลายที่ได้ เข้าไปร่วมฟังการถวายความรู้ ท่านแม่ครูนิมนต์ให้พระอาจารย์หันหลังให้กระดานหน้าห้อง แล้วท่านแม่ ครูเริ่มบรรจงเขียนคาตอบเฉลยไว้ล่วงหน้า ก่อนจะเริ่มให้พระอาจารย์ปฏิบัติตามที่ท่านบอก แล้วให้พระ อาจารย์ตอบทีละข้อ ครั้นเมื่อจบคาถาม จึงนิมนต์พระอาจารย์ดูเฉลยคาตอบ ปรากฏว่าเป็นคาตอบที่ถูก ต้องทุกข้อตามที่ท่านแม่ครูเขียนเฉลยไว้ก่อนหน้านี้แล้ว ท่ามกลางความฉงนของบรรดาเหล่าโยคีที่ได้ร่วม เป็นสักขีพยานในการทดสอบครั้งนี้
การถวายความรู้ของท่านแม่ครูในสมัยนั้น ธรรมะที่ท่านสอน เป็นคาสอนสั้น ๆ ไม่มีคาขยายความ ต้องจดจาสภาวะตนเองให้ชัด ก่อนไปฝึกพิจารณาสภาวะต่อจากปัจจุบัน แต่พระอาจารย์ก็สามารถเข้าถึง สภาวะต่อเนื่อง และแก้ปัญหาได้ทุกครั้ง สภาวะแต่ละครั้งเหมือนพลิกฝ่ามือ เมื่อเข้าถึงได้เป็นปัจจุบัน สภาวะจึงรุดหน้าอย่างรวดเร็ว
การสอนของท่านแม่ครูสมัยนั้น ท่านเป็นผู้มีความสามารถในการใช้สานวนภาษา โดยเฉพาะภาษา สภาวะ ทั้งสละสลวย และเข้าใจได้ง่าย ท่านบัญญัติคาได้ตรงกับสภาวะซึ่งเป็นนามธรรม อาทิ “ตัวมุ่ง” “ความมั่นคง”คาของท่านมีความไพเราะ ฟังแล้วรู้สึกดี เข้าใจตามที่ท่านต้องการสื่อ ตรงไปตรงมา สามารถ ปฏิบัติตามได้ทันที ท่านใช้เน้นเฉพาะประเด็นสาคัญ ท่านบอกให้ทาอะไร ทาอย่างไร พระอาจารย์ก็จะทาตาม ไม่ทานอกเหนือจากคาสอนท่านแม่ครู พระอาจารย์สังเกต จับประเด็นทุกคาที่ท่านแม่ครูสอน จนรู้ว่าจุด ไหนสาคัญ ทุกครั้งที่ท่านแม่ครูถาม พระอาจารย์จะเล่าทันที ทาได้ ทาไม่ได้ ทาไม่ทัน ไม่คร่าครวญพิรี้พิไร เพราะทา่ นจะใชค้ า สอนสนั้ ๆ กระชบั เพยี งแค่ ใช่ ถกู แลว้ ขณะเปน็ นกั ปฏบิ ตั ิ พระอาจารยร์ เู้ พยี งแคป่ ฏบิ ตั ิ อยา่ งไรถงึ จะกา้ วหนา้ และทา หนา้ ทขี่ องนกั ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเครง่ ครดั รชู้ ดั เพยี งอยา่ งเดยี ววา่ การปฏบิ ตั แิ ตล่ ะครงั้ สง่ ผลตอ่ สภาพจติ อยา่ งไร ดขี นึ้ อยา่ งไร ไมค่ ดิ คน้ หาความหมายของสภาวธรรม เปน็ สงิ่ สา คญั ของการปฏบิ ตั ิ
(33)


































































































   30   31   32   33   34