Page 359 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 359

291
การงานทสี่ า คญั คอื อะไร คอื การงาน การเจรญิ สตขิ องเรา การเจรญิ สติ สมาธิ การใชป้ ญั ญาพจิ ารณา กาหนดรู้ ถึงอาการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของรูปนาม ของอารมณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฏขึ้นมา ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยู่เนือง ๆ ตรงนี้แหละ เมื่อไหร่ก็ตาม ที่รู้สึกว่าเราละเลยไป ก็ต้องมีความเด็ดเดี่ยว มีความ เด็ดขาด มีความมั่นคง เมื่อรู้สึกตัวขึ้นมา ก็พร้อมที่จะละ ที่จะลด และดับทันที การที่จะลด จะละ และดับ ทันที ดับได้อย่างไร ถ้าภาคปฏิบัติ เราจะกาหนดรู้ถึงความรู้สึกของเราว่า เมื่อรู้สึกว่าเราหลงแบบนั้น มาดู สภาพจิต ดูที่จิต จิตตรงนั้นที่รู้สึกว่า เราหลงอะไร หลงรสชาติของอารมณ์ คือความเพลิดเพลิน ความยินดี ความพอใจ การที่จะดับความยินดีพอใจ ในอารมณ์อันนั้นทาอย่างไร
หนึ่ง การกาหนดรู้ ถึงโทษของอารมณ์ที่เกิดขึ้น ถึงโทษของการคลุกคลีในอารมณ์อันนั้น ด้วยขาด สติ อันนี้อย่างหนึ่ง เมื่อรู้ตัวตรงนี้ การพิจารณาเรารู้ถึงโทษของอารมณ์อันนั้นแล้ว สิ่งที่ต้องทา ทาอย่างไร ทาอย่างไร...ตัวนี้เป็นสิ่งสาคัญมาก ๆ นี่คือภาคปฏิบัติ คือการละ ต้องกลับมาดูว่า การที่เรากาหนดรู้ ถึงจิต ทที่ า หนา้ ทรี่ ถู้ งึ รสชาติ ความเพลดิ เพลนิ ทเี่ กดิ ขนึ้ จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ ู้ กบั ความรสู้ กึ เพลดิ เพลนิ เปน็ สว่ นเดยี วกนั หรือคนละส่วนกัน เมื่อเห็นกาหนดรู้ถึงลักษณะอย่างนี้แล้ว กาหนดรู้ว่าความเพลิดเพลิน เมื่อมีสติกาหนด รู้ มีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ หรือดับไป ในลักษณะอย่างไร
และต้องเพิ่มเจตนา เป้าหมายที่ชัดเจน ต้องพร้อมที่จะละ การที่พร้อมที่จะละนี่แหละ คาว่าพร้อม ที่จะละนี่สาคัญมาก ๆ เหมือนเราอยากละ แต่ไม่พร้อมที่จะละ รู้ว่าไม่ดี แต่ยังไม่พร้อมที่จะละ อยากจะ คลุกคลี คลุกคลีกับอารมณ์นั้นไป เพราะอะไร คลุกคลีแล้วให้ความรู้สึกเพลิดเพลิน รู้สึกสบายเหมือน ติดในคุณ ติดในคุณของอารมณ์นั้น ๆ นี่แหละที่เรียกว่า ติดกามคุณอารมณ์ คุณของอารมณ์ ความดีของ อารมณ์อันนั้น จนเพลิดเพลิน ลืมที่จะละ ที่จะดับอารมณ์ ความรู้สึกอันนั้นเกิดขึ้นมา
ท นี กี ้ า ร ท เี ่ ร า ก ล บั ม า ด สู ภ า พ จ ติ จ ติ ท คี ่ ล กุ ค ล ี ท า ใ ห เ้ ก ดิ ค ว า ม ร ส้ ู กึ แ ท น ท จี ่ ะ เ ก ดิ ค ว า ม ร ส้ ู กึ ม คี ว า ม ผ อ่ ง ใ ส จติ เพลดิ เพลนิ กจ็ รงิ แตข่ าดความผอ่ งใส ขาดความตนื่ ตวั เมอื่ กา หนดรู้ รสู้ กึ ตวั แลว้ ไปดบั จบั ตวั ทรี่ วู้ า่ กา ลงั เพลิดเพลิน คือตัวรู้เองนี่แหละ การกาหนดรู้แบบนี้ เป็นการแยกนามกับนามด้วย เพราะความเพลิดเพลิน ความรู้สึกสบายเป็นนาม เป็นลักษณะของจิตอย่างหนึ่ง ตัวรู้ก็เป็นจิตอย่างหนึ่ง พอกาหนดรู้แบบนี้...รู้สึก
พอรู้ขณะหนึ่ง สิ่งที่เราต้องสังเกต พอรู้ว่าเพลิดเพลินปื๊บแล้ว รู้แล้วความเพลิดเพลิน ความรู้สึก เพลิดเพลินนั้นดับไป ดับไปชั่วขณะหนึ่ง รู้สึกนิ่งไปขณะหนึ่ง แล้วเกิดขึ้นมาใหม่ ผุดขึ้นมาใหม่ รู้สึกยินดี กับอารมณ์นั้นอีก พอกาหนดรู้ ดับไปใหม่ รู้สึกยินดีขึ้นมาใหม่ กาหนดรู้การดับไป ดับไปแต่ละขณะ ทีนี้ จับตัวรู้ ที่ทาหน้าที่รู้ว่ายินดี แล้วก็...พอจิตที่ทาหน้าที่รู้ ที่รู้ว่ากาลังยินดีในอารมณ์ จุดที่ต้องสังเกตคือ พอ จับที่ตัวรู้ว่ายินดีปื๊บนี่นะ อาการอารมณ์นั้นดับอย่างไร สภาพจิตเปลี่ยนไปอย่างไร ถ้าจิตเปลี่ยนเป็นเบาขึ้น โลง่ ขนึ้ กด็ จู ติ ทเี่ บาขนึ้ โลง่ ขนึ้ ตอ่ ไป ทา จติ ทวี่ า่ งทโี่ ลง่ แลว้ ใหม้ กี า ลงั มากขนึ้ ยกจติ ขนึ้ มา ไปสรู่ ะดบั ของสภาพ จิตที่เราเคยเป็น ตอนที่ไม่เคย ไม่คลุกคลีกับอารมณ์
ตรงนี้จะเพิ่มสติมากขึ้น เพิ่มความตั้งมั่น เพิ่มความเด็ดเดี่ยวมากขึ้น ที่จะรู้จิตที่หลุดจากการ เพลดิ เพลนิ การทคี่ ลกุ คลใี นอารมณอ์ นั นนั้ ตรงนอี้ ยา่ งหนงึ่ เมอื่ ลดการคลกุ คลไี ดแ้ ลว้ ตอ่ ไปตอ้ งเพมิ่ ความ


































































































   357   358   359   360   361