Page 361 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 361
293
กระสับกระส่าย ทาให้สมาธิไม่ตั้งมั่น เมื่อสมาธิไม่ตั้งมั่น ปัญญาก็ไม่คม การกาหนดรู้อารมณ์ การเกิดดับ ของอารมณ์จะไม่ชัดเจน
เพราะฉะนั้น จะไม่เห็นว่าอารมณ์เหล่านั้น มีการเกิดดับอย่างไร มีแต่ความปรุงแต่งคลุกคลี ใน อารมณ์นั้นไปเรื่อย ๆ กลายเป็นว่า อารมณ์นั้นเป็นตัวขัดขวางธรรม ขัดขวางการปฏิบัติธรรมของเรา เพราะ ฉะนนั้ สงิ่ ทตี่ อ้ งทา ทา อยา่ งไร อยา่ งทบี่ อกแลว้ วา่ การทเี่ รากา หนดรถู้ งึ รปู นาม กายกบั จติ เปน็ คนละสว่ นกนั ไม่ได้บอกว่าเป็นตัวเราของเรา อารมณ์ที่เกิดขึ้นก็เช่นเดียวกัน ผัสสะที่เกิดขึ้น ภาพที่เห็นกับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เขาเป็นคนละส่วนกัน ให้พิจารณาแบบนั้น เสียงที่ได้ยินกับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เขาเป็นคนละส่วนกัน กาหนดรู้ ถึงความเป็นคนละส่วนแบบนี้ ๆ แล้วจะเห็นว่า ไม่มีตัวตน ไม่มีเรา
ถ้าเราพิจารณาก็จะเห็นว่า ทุกครั้งที่เห็นแบบนี้ ผัสสะที่เกิดขึ้น ไม่ส่งผลกระทบต่อจิตใจ ทาให้เกิด ความขุ่นมัว ความเศร้าหมอง เพราะฉะนั้น อารมณ์ที่กระทบแล้วเกิดความไม่สบายใจ เริ่มต้นด้วยการละ ดับความรู้สึกว่าเป็นเรา ดับความรู้สึกว่าเป็นเรา แล้วยกจิตขึ้นสู่ความว่าง ทาจิตให้กว้างกว่าอารมณ์ ดับ ความรู้สึกว่าเป็นเรา ทาให้จิตกว้างกว่าอารมณ์ นี่เป็นการดับ ละรสชาติของความทุกข์ ความขุ่นใจ ความ ไม่สบายใจ ไม่ใช่ดับภาพที่เห็น แต่เป็นการละความขุ่นใจ เป็นการละตัวนิวรณ์ตัวนั้นโดยตรง เกิดความ พยาบาท ความขุ่นใจ ความไม่สบายใจ
จากนั้น การที่เราจะป้องกัน เพื่อไม่ให้อาการเหล่านี้เกิดขึ้นบ่อย ๆ การที่เราเห็นโทษ ของการที่เรา ไปเกาะเกี่ยว ไปยึดติดในอารมณ์ ไปผูก เป็นการจองเวรนะ ทาให้ชีวิตเรา จิตของเรามีแต่ความขุ่นมัว ชีวิต เราไม่มีความสุข เมื่อไหร่ที่เห็นโทษอย่างนั้น ต้องตั้งจิตเราว่า ฉันจะไม่ทาแบบนั้นอีก จะไม่ผูก ไม่จองเวร ไม่ถือสา กับอารมณ์บางอย่างที่เข้ามากระทบ ที่เราเคยหลงไปแล้ว เราเคยหลงไปคิดว่าเป็นตัวเรา เป็นของ เรา เป็นของดี คิดว่าต้องเป็นอย่างนั้น แล้วทาให้จิตใจขุ่นมัว พอเห็นว่าการที่ยกจิตขึ้นสู่ความว่าง แยกเป็น คนละส่วนกับอารมณ์เหล่านั้น ทาให้จิตใจมีความสงบ มีความโล่ง ความโปร่ง ความเบา ไม่ต้องทุกข์ร้อน กับอารมณ์ ที่ปรากฏทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ทุกข์ร้อนกับอารมณ์เหล่านั้น นี่คือการที่เราเห็นโทษ แล้วก็เห็นคุณ จากการที่เราแยกรูปนามได้
เมื่อเห็นอย่างนี้แล้ว ควรทาอย่างไร คาถามคือ เมื่อเห็นอย่างนี้แล้ว เราควรทาอย่างไรกับอารมณ์ที่ เกิดขึ้น หรือควรวางจิตตัวเองอย่างไร เพื่อความไม่ทุกข์ เพื่อเป็นการตัดนิวรณ์ตรงนั้น ตัดพยาปาทนิวรณ์ เกิดความรู้สึกขัดเคือง เกาะเกี่ยวอยู่นาน ๆ อันนี้อย่างหนึ่ง การที่เราต้องใช้ความเด็ดขาด ความเข้มแข็งใน ตัวเอง ตรงนี้สาคัญมาก ๆ นะ ใช้ความเด็ดขาด ความเข้มแข็งกับตนเอง เพื่อที่จะไม่คลุกคลีกับอารมณ์ ที่ เป็นตัวนิวรณ์ตรงนี้ ถ้าเรามีความเด็ดขาด ถ้าไม่มีตัวตน เขาก็จะเด็ดขาด
แตถ่ า้ มตี วั ตน กจ็ ะมอี าการ...มเี ศษอารมณ์ เหมอื นกบั เสยี ดาย พอจะดบั ไปกก็ ลวั อยา่ งนนั้ พอจะละ พอจะให้อภัย ก็กลัวอย่างนั้น การให้อภัย การไม่ถือสา นั่นก็คือวิธีหนึ่งที่จะละความพยาบาท หรือที่เรียก ว่าการเจริญเมตตา การเจริญเมตตา เมตตาตัวเอง การให้อภัย คือการปลดปล่อยตัวเองจากการไปจองเวร ไปคลุกคลีในอารมณ์อันนั้น เพราะฉะนั้น การที่เราทาแบบนี้นี่แหละ จะคลายพยาบาทออกไป และถ้าเจริญ