Page 415 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 415
347
รู้ชัด รู้สึกว่าแว็บเข้ามา พอไปรู้หยุดอยู่นิดหนึ่ง พอมีสติเข้าไปกาหนดก็หายแว็บไป ก็ต้องรู้ชัดตามนั้น ใน ลักษณะอย่างนั้นต่อไป
การใส่ใจแบบนี้นะ คือการกาหนดอารมณ์ การใส่ใจแบบนี้คือการมีสติสัมปชัญญะ ตามกาหนดรู้ อารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น พร้อมที่จะรู้ถึงธรรมชาติ อาการอารมณ์ของจิตที่ปรากฏเข้ามาให้เราได้รับรู้อยู่ เนือง ๆ แล้วก็ พอจิตใสขึ้นก็เข้าไปรู้จิตที่ใสอีก พอแว็บไปจิตรู้สึกใสขึ้น เข้าไปดูจิตที่ใสแว็บไปหมดไป จิตรู้สึกสงบขึ้น สงบขึ้นเข้าไปดูจิตที่สงบ เข้าไปรู้ความสงบ ความสงบเปลี่ยนอย่างไร เข้าไปแล้วรู้สึก อย่างไร ยิ่งเข้าไปจิตยิ่งสงบมากขึ้นไหม สงบมากขึ้นตั้งมั่นขึ้นหรือเปล่า ตรงนี้ให้สังเกตในลักษณะอย่างนั้น เพราะฉะนั้นเมื่อเราสนใจแบบนี้นี่นะ เราจะเห็นถึงการการเปลี่ยนแปลงอยู่เนือง ๆ เราก็จะอยู่กับอาการ พระไตรลักษณ์ เราก็อยู่กับวิปัสสนา เป็นการเห็นอาการพระไตรลักษณ์โดยที่ไม่ต้องคิด แต่เห็นด้วยการ สังเกต รู้สึกจริง ๆ นั่นแหละคือปัญญาวิปัสสนา หรือเรียกว่าภาวนามยปัญญา
เพราะฉะนั้น ตรงนี้จึงเป็นสิ่งสาคัญที่ว่าเห็นแจ้งรู้จริง เห็นชัดเจนด้วยตัวเอง ว่าไม่ว่าจะเป็นความ คดิ เกดิ แลว้ กด็ บั เกดิ แลว้ กด็ บั เวทนาเกดิ ขนึ้ มากเ็ ปลยี่ นแปลง อาการเครง่ ตงึ เกดิ ขนึ้ มากเ็ ปลยี่ นไป ยงิ่ เหน็ การเปลี่ยนเราจะเห็นว่า เราไม่ต้องไปปรุงแต่งเลย ไม่ต้องไปคิดไม่ต้องไปสร้าง ไม่ต้องไปนั่งคิดตรึกตรอง ว่าเดี๋ยวเขาก็ดับ เดี๋ยวก็หายเดี๋ยวก็หมดไป เดี๋ยวก็เกิดแล้วหายไปแล้ว ก็เรียกว่าไม่เที่ยงแล้ว ไม่ต้องแบบ นั้น แต่รู้ชัดทันทีว่า อ๋อ! ดับแล้ว ดับในลักษณะอย่างนี้ เกิดขึ้นแบบนี้ ผุดเกิดขึ้นมา ค่อย ๆ ปรากฏขึ้นมา ค่อย ๆ ลอยเข้ามา ค่อย ๆ เลื่อนเข้ามา หรือว่าผุดแว็บขึ้นมาแล้วก็ดับไปเลย แทนที่จะค่อย ๆ เลือน ๆ ๆ หมดไป เราก็ตามจนหมด เพราะฉะนั้นการที่เราตามรู้ชัดนี่นะ จะทาให้สติเรามากขึ้น ความตื่นตัวก็ยังต่อ เนื่องไป ขอให้ใส่ใจดี ๆ นะ ตั้งใจดู นั่งสบาย ๆ พิจารณาลมหายใจของเราให้ดี
ใครทรี่ สู้ กึ วา่ หายใจเบา ๆ แลว้ มนั จะงว่ ง หายใจเบา ๆ แลว้ มนั จะงว่ ง ถา้ ยงั กา หนดความวา่ งไมเ่ ปน็ ยังกาหนดความง่วงไม่ได้ก็หายใจยาว ๆ ถอยออกมา ก็หายใจยาว ๆ ก่อน ให้เต็มปอดให้เต็มตัว เพราะ การที่เราหายใจยาว ๆ ให้เต็มปอดให้เต็มตัว เป็นการเพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกายของเรา ให้กับเลือด ของเรา การไหลเวียนของลม เลือดลมของเราดีขึ้น รูปก็จะสดชื่นขึ้นด้วยเช่นกันนะ หายใจยาว ๆ หายใจ เข้าถึงท้อง หายใจออกก็ให้ยาว ๆ หายใจเข้าก็ให้หายใจยาว ๆ ถึงท้อง หายใจออกก็หายใจจนสุด สักพัก หนึ่งแล้วค่อยมาสังเกตอาการ...นิ่ง หายใจแบบปกติแบบนี้ก็ไม่ผิด หายใจยาว ๆ เพื่อปรับสภาพร่างกาย รอแป๊บหนึ่ง หายใจยาวแล้วเราก็รู้ชัดถึงลมหายใจของเรา แล้วก็นิ่งใหม่ สังเกตอาการที่ปรากฏต่อไป นอกจากลมหายใจและอาการอื่นชัดขึ้นมาแล้ว ค่อยกาหนดอาการนั้นต่อไป เราสามารถกาหนดสลับกัน แบบนี้ได้นะ สลับกันเดี๋ยวพอหายใจเบา ๆ มันเฉื่อยไป สภาวะไม่ชัดก็ถอยมาแล้วหายใจยาว ๆ ๆ เพื่อให้ เลือดลมในร่างกาย ไหลเวียนดี ให้ร่างกายเราสดชื่นให้เบิกบาน สดชื่นขึ้น จิตก็ตื่นตัวขึ้นด้วย แล้วก็สังเกต อาการต่อไป
การที่เราหมั่นสังเกต สารวจตรวจสอบดูสภาพจิตเรา รู้ว่าอาการเกิดดับ รู้สภาพจิตที่ไม่ปรุงแต่ง รู้ ว่าขณะนี้เราตามรู้อย่างเดียว เราไม่ได้ปรุงแต่งไม่ได้สร้างขึ้นมา อาการเกิดดับที่เกิดขึ้นเราไม่ได้สร้างเขา