Page 467 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 467
399
ย่อมมีการเปลี่ยนแปลงไป เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เกิดขึ้นแล้วก็ต้องดับไปตามเหตุตามปัจจัยของตน บังคับ บัญชาไม่ได้ แต่การที่เรามีเจตนา มีเจตนาที่จะรู้ถึงการเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไปของตัวเวทนา ทาให้อะไรเกิดขึ้น มา ทาให้สติ สมาธิ ปัญญาแก่กล้าขึ้น สติ สมาธิ ปัญญาแก่กล้าขึ้น ขันติมีมากขึ้น ความอดทน ความตั้ง มั่นของจิต ความเข้มแข็งของจิตเกิดขึ้น เราอดทนได้ทั้งเวทนาทางกายและเวทนาทางจิต นี่คืออาศัยเวทนา ทางกายมาบีบคั้นจิตใจ พอเข้าใจมีสติ มีปัญญาพิจารณาเห็นชัดแบบนี้ จิตมีความอดทน มีความตั้งมั่น มี ความเข้มแข็งขึ้น โดยที่ไม่ทุกข์กับเวทนาที่เกิดขึ้น อันนี้เป็นการฝึก
พอฝกึ อยา่ งนบี้ อ่ ย ๆ จติ มกี า ลงั มคี วามตงั้ มนั่ มคี วามเขม้ แขง็ มตี บะ มตี บะมคี วามเขม้ แขง็ เกดิ ขนึ้ ก็จะช่วยป้องกัน บรรเทาเวทนาทางใจที่เกิดขึ้นมาได้ด้วยเช่นกัน เมื่อมีผัสสะทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย หรือทางใจ อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้นมา ทาให้มีเวทนาทางกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นทุกขเวทนา ทางกาย เป็นโทมนัสเวทนา ตรงนี่นะที่เกิดขึ้นมา เกิดความปฏิฆะ พอใจไม่พอใจเกิดขึ้น ก็อาศัยกาลังของ ความตั้งมั่นของจิต ที่เคยต่อสู้กับเวทนาทางกายที่เกิดขึ้นมา มีความเข้มแข็ง มีตบะขึ้นมาแล้ว สามารถรับรู้ อดทนต่อเวทนาทางจิตได้ด้วยเช่นกัน
และการอดทนต่อเวทนาทางกายไม่ใช่แค่อดทนแค่นี้ บางทีเวทนาทางกายที่เกิดขึ้น มีความแกร่ง มีความกล้า หมายถึงว่า ปวดมาก เจ็บมากจนแทบจะทนไม่ไหว แทบจะขาดใจ เราจะรู้ถึงความอดทน ขีด ความอดทนของตนเองไปด้วยเช่นเดียวกัน เหมือนกับมันปวดมาก ๆ จนแทบจะขาดใจก็ยังไม่เป็นไร ยัง อดทนได้ ยังตั้งมั่นอยู่ได้ ไม่มีอาการขาดใจ ตามความรู้สึกที่เราคิดว่าน่าจะขาดใจ มีความตั้งมั่นเกิดขึ้น เพราะฉะนนั้ จะเหน็ วา่ เวทนาทางกายเขามปี ระโยชนม์ อี านสิ งส์ ถา้ เรารสู้ กึ วา่ การทเี่ ราอดทนตอ่ เวทนาทางกาย ที่เกิดขึ้นมา จนแทบจะขาดใจได้ เวทนาทางจิตที่เกิดขึ้น เวทนาแบบไหนที่ทาให้เราแทบจะขาดใจ แทบจะ ตายให้ได้ ไม่ต่างกันหรอก...ความรู้สึกคือแทบจะขาดใจ ถ้าเป็นลักษณะแบบเดียวกันก็ไม่ต่างกัน เพียงแต่ อาศัยเรื่องที่ต่างกันเท่านั้นเอง
อาศัยเหตุปัจจัยเรื่องอะไร คือเรื่องของร่างกายกับเรื่องของจิตใจ เรื่องของจิตใจมีผัสสะทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นความคิด การเห็น การได้ยินที่เกิดขึ้น แล้วเกิดความไม่พอใจ เกิดความไม่ชอบใจ เกิดความไม่สบายใจเกิดขึ้นมา เพราะฉะนั้นเวทนาที่เกิดขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นทางกายหรือทางใจ กาหนดรู้ จริง ๆ ก็จะเห็นว่าเหมือนกับตัวสัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ที่เป็นเรื่องของนามธรรม เป็นเรื่องของจิต เขาเรียก ว า่ ส ญั ญ า ข นั ธ เ์ ป น็ เ ร อื ่ ง ข อ ง จ ติ ส งั ข า ร ท า ง จ ติ ท เี ่ ก ดิ ข นึ ้ ม า ก ค็ อื ก า ร ป ร งุ แ ต ง่ ต า่ ง ๆ น า น า ท เี ่ ก ดิ ข นึ ้ ม า แ ล ว้ ท า ใ ห ้ เจ็บใจทุกข์ใจ แล้ววิญญาณขันธ์กับอารมณ์กับขันธ์นั้น เขาเป็นคนละส่วนกัน
เพราะฉะนั้นเวลาปรุงแต่งขึ้นมา เวลาคิดขึ้นมา ก็ลองกาหนดรู้ว่าจิตที่ทาหน้าที่รู้ กับความคิดกับ เวทนาทางจติ เขาเปน็ สว่ นเดยี วกนั หรอื คนละสว่ นกนั พอมเี จตนาทจี่ ะกา หนดรแู้ บบนี้ กลายเปน็ วา่ เรามสี ติ ขนึ้ มาเพอื่ พจิ ารณาถงึ สจั ธรรม เพอื่ พจิ ารณาถงึ สจั ธรรมเหน็ ชดั ถงึ ความเปน็ คนละสว่ นเมอื่ ไหร่ ความทกุ ขท์ ี่ เคยแบกอยู่ที่ยึดเอาไว้ ก็จะสลายไป คลายไป เบาไป บางไป และหายไปในที่สุด เพราะฉะนั้น การพิจารณา ถงึ ความเปน็ คนละสว่ นของขนั ธแ์ บบนจี้ งึ เปน็ สงิ่ สา คญั ทบี่ อกวา่ ทา ใหเ้ ราเหน็ ถงึ ความเปน็ จรงิ ความเปน็ จรงิ