Page 545 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 545

477
รู้สึกสงบอยู่ แล้วพอมีความคิดขึ้นมา อันนี้เขาเรียกอารมณ์ที่เกิดกับใจ พอมีความคิดขึ้นมา ให้ใจที่เบา ๆ กว้างกว่าเรื่องที่คิด กว้างกว่าความคิด ลองดูว่าความคิดที่เกิดขึ้น เขาเกิดอยู่ที่ไหน เกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ เกิด อยู่ในที่โล่ง ๆ เกิดอยู่ในความเบา เกิดอยู่ที่ไหน เกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ เกิดอยู่ในความโล่ง เกิดอยู่ในความเบา หรือเกิดที่ตัว เกิดที่สมอง อันนี้คือสังเกตอย่างนี้
การกาหนดรู้อย่างนี้ การสังเกตอย่างนี้ เพื่ออะไร เพื่อความเข้าใจ เพื่อความเห็นชัดถึงธรรมชาติ เหมือนกับ...ทาไมถึงยกเป็นอารมณ์ทั้ง ๖ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ ที่เกิดกับใจ ก็เป็น อารมณห์ นงึ่ ทจี่ ติ ตอ้ งไปรบั รู้ และความคดิ เหลา่ นนี้ แี่ หละ บางครงั้ เรากค็ ดิ ปรงุ แตง่ ไปตา่ ง ๆ นานา จนคดิ วา่ จติ กบั ความคดิ เปน็ อนั เดยี วกนั แลว้ กเ็ ปน็ เรา ความคดิ นนั้ เปน็ ของเรา แลว้ กเ็ ปน็ ทกุ ขข์ นึ้ มา ทนี ลี้ องดวู า่ ถา้ จิตที่เบา ๆ กว้างกว่าเรื่องที่คิด ลองดูว่า จิตที่เบา ๆ กว้างกว่าเรื่องที่คิด ความคิดนั้นหนักหรือเบา
รู้สึกไหมว่า ความคิดเขาเกิดอยู่ที่เบา ๆ เกิดอยู่ที่ความว่าง เกิดอยู่ที่โล่ง ๆ ถ้าเกิดอยู่แบบนั้น ลอง ดูจิตใจรู้สึกเป็นอย่างไร กระทบจิตใจทาให้เราอึดอัด ทาให้เราหนัก ทาให้ไม่สบายใจไหม หรือรู้สึกเกิดก็ เกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ จิตที่เบาก็ยังสงบอยู่ แม้ความคิดเกิดขึ้นมา เกิดแล้วเกิดอีก ๆ แต่ก็ยังเห็นเป็นคนละ ส่วนกัน ทีนี้อีกอย่างหนึ่ง เวลาเราปฏิบัติ พอความคิดเขาเกิดขึ้นมาบ่อย ๆ แบบนี้ หน้าที่ผู้ปฏิบัติทาอย่างไร ถ้าจิตเรากว้างกว่าเรื่องที่คิด แล้วลองดูว่า ความคิดเกิดแล้วดับอย่างไร ความคิดที่เกิดในที่ว่าง ๆ เกิดแล้ว ดับแบบไหน มีอาการผุดขึ้นมา แว็บหายไป ผุดขึ้นมาแล้วก็ปลิวหายไป ผุดขึ้นมาแล้วก็จาง ๆ ๆ หายไป หรือผุดขึ้นมา หยุดนิดหนึ่ง แล้วก็ถอยไป แล้วก็หายไป
ตรงนี้เขาเรียก สังเกตอาการเกิดการดับของความคิด เพราะความคิดเป็นของไม่เที่ยง การตามรู้ แบบนี้ การตามรู้การเปลี่ยน การดับแบบนี้นี่แหละ ที่บอกว่าจะทาให้จิตเราคลาย คลายจากอุปาทาน เพราะ อะไร ถ้าจิตเขาเห็นว่าบังคับไม่ได้ ยึดไม่ได้ ก็จะไม่ยึดอีกต่อไป ถ้าเขาเห็นว่าเกิดแล้ว จะไปยึดอยู่อย่างนั้น ให้เป็นแบบนั้นตลอด ก็ไม่สามารถเป็นได้ เขาก็จะคลาย เขาจะไม่ยึด เขาแค่รู้แล้วก็ผ่าน รู้ว่าดีไม่ดีก็ดับ ไป ๆ ดีไม่ดี ก็ผ่านไป สิ่งที่เหลือไว้ ก็คือสติ สมาธิ คือความสงบของจิต ความมั่นคงของจิต คือปัญญา แล้วก็จิตใจที่มีความสงบ มีความตั้งมั่น มีความผ่องใสขึ้นมา มีความนิ่ง ไม่วุ่นวาย มีความเย็น ตรงนั้น แหละการที่เราปฏิบัติ จึงต้องใส่ใจอาการแบบนี้ อะไรก็ตามที่เกิดขึ้น
เรามาปฏบิ ตั ธิ รรมกนั สกั นดิ หนงึ่ นงั่ กรรมฐาน อาจารยจ์ ะพดู แบบนแี้ หละ พดู ไปเราฟงั ไป พจิ ารณา ไปนะ ทาตามไปด้วย... นอกจากความคิดแล้ว เวลาเรานั่งหลับตา แล้วก็มีสี มีแสง มีสีหรือมีแสงเกิดขึ้น ข้างหน้าเรา เป็นสีอะไรก็ตาม มีอาการสว่างขึ้นมา ผุดขึ้นมาหรือเป็นจุดขึ้นมา นั่นเขาเรียกว่า สภาวธรรมที่ เกิดขึ้นข้างหน้า เป็นสีเขียว มีอาการกระเพื่อม มีการเคลื่อนไหว ซ้ายไป ซ้ายไปขวาไป ข้างหน้า ขึ้นลง ตรง นั้นเขาเรียกสภาวธรรม
มีอาการเปลี่ยนแปลง เป็นนิมิตให้เราเห็น มันเป็นลักษณะของสี ถ้าเป็นอย่างนั้นก็ตามกาหนดรู้ หน้าที่ของเราผู้ปฏิบัติ คือตามกาหนดรู้ ตามรู้สภาวธรรมที่กาลังเกิด ว่ามีการเปลี่ยนไปอย่างไร เกิดดับใน ลักษณะอย่างไร ตรงนี้เขาเรียกว่า เป็นการยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา เป็นการพิจารณากฎไตรลักษณ์ คือความ


































































































   543   544   545   546   547