Page 576 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 576

508
สิ่งที่สาคัญที่สุดก็คือว่า การที่เราพร้อมที่จะเข้าใจ ในสภาวธรรมที่เกิดขึ้น นี่แหละสิ่งที่จะทาให้เรามี ปัญญา และจิตมีความมั่นคง จิตจะมีความอิสระมั่นคงตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวกับอารมณ์ ก็ด้วยอาศัยปัญญา ปัญญาพิจารณาถึงความเป็นจริงที่เกิดขึ้น ว่าเป็นไปอย่างไร พร้อมกับมีสติ สมาธิ เป็นกาลังคอยส่งเสริม ปัญญา ในการพิจารณาสภาวธรรมที่เกิดขึ้น จิตจะมีความหนักแน่นมั่นคง ไม่มีความหวั่นไหว ในอารมณ์ ที่เกิดขึ้น
ถ้าเป็นการรับรู้ ด้วยความรู้สึกที่ไม่มีตัวตนด้วยแล้ว จิตก็จะมีความรับรู้อารมณ์ต่าง ๆ นั้น ด้วย ความสงบได้ แต่ทั้งหมดนี้ ที่พูดมาก็คือ การหมั่นพิจารณาสภาวธรรมที่ปรากฏเกิดขึ้น อาศัยการพิจารณา อาการพระไตรลักษณ์ อาการเกิดดับของรูปนาม ที่ปรากฏเกิดขึ้นมาทางทวารทั้งหก ไม่ว่าจะเป็นทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ว่าจะเป็นอาการของกาย ไม่ว่าจะเป็นอาการของเวทนา เป็นอาการของจิต ที่สภาวธรรม ที่เกิดขึ้นมา
การที่เราอาศัยอารมณ์ที่กาลังปรากฏเกิดขึ้น ในปัจจุบันนี่แหละ มาเป็นอารมณ์กรรมฐานในการ พจิ ารณา เพราะอะไร เราสงั เกตดวู า่ ในชวี ติ ประจา วนั ของเรา ในชวี ติ ประจา วนั ของเรา ทมี่ คี วามทกุ ขส์ ลบั สบั เปลี่ยนกัน เวียนไปมาตลอด ตั้งแต่เกิดจนถึงปัจจุบัน สังเกตมีอารมณ์ใดบ้าง ที่ไม่อาศัยทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เกิดขึ้นในการรับรู้ เรื่องราวดี หรือไม่ดีก็มาปรากฏที่ตา ที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยู่นี่แหละ วนเวียน อยู่อย่างนี้ สลับสับเปลี่ยนกัน
และเรื่องราวเหล่านั้น อารมณ์เหล่านั้น ก็มาเป็นปัจจัยสนับสนุนเกื้อหนุน ให้คนเรากระทาสิ่งต่าง ๆ ไปเรอื่ ย ๆ ในชวี ติ ประจา วนั ในมมุ มองทตี่ วั เองคดิ วา่ เปน็ สงิ่ ดี สงิ่ ทมี่ ปี ระโยชน์ สงิ่ ทมี่ คี า่ กส็ ามารถขวนขวาย แสวงหาธรรมไป นอกจากนี้ ขณะทที่ า ไป...เพอื่ อะไร กเ็ พอื่ การดา รงอยู่ ความตงั้ อยู่ ความสะดวกสบายของ รูปของนาม หรือของกายใจเรา ที่รู้สึกว่าดี มีความรู้สึกมีความสุข มีความสบาย มีความพอใจในอารมณ์ที่ เกิดขึ้น ก็เพื่อความสุขความสบาย หรือเพื่อความตั้งอยู่ ทาเพื่อประโยชน์ตน และประโยชน์ท่าน นั่นก็คือ วัฏจักรที่เกิดขึ้น
เพราะฉะนั้น อารมณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ จะเป็นอย่างไร ก็ยังต้องอาศัยทวารทั้งหก คือ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อย่างที่บอกว่า อารมณ์เข้ามากระทบทางตา แล้วทาให้มีอกุศลเกิดขึ้น มีความทุกข์เกิดขึ้น มี กิเลสเกิดขึ้น หรือกระทบแล้วไม่มีกิเลส กระทบขึ้นมา มีปัญญากาหนดรู้เท่าทันอารมณ์นั้น กิเลสไม่เกิดขึ้น การที่มีสติรู้เท่าทันอารมณ์ตรงนี้ อย่างหนึ่งว่า การที่รู้เท่าทันอารมณ์ บางครั้งอารมณ์ภายนอกที่เกิดขึ้นมา อารมณ์ต่าง ๆ ภายนอก ยากที่เราจะรู้เท่าทันขณะแรก ของอารมณ์อันนั้น ถ้าไม่อาศัยการกาหนดรู้อารมณ์ หลักอย่างต่อเนื่อง
อารมณ์หลักอย่างต่อเนื่อง เป็นอย่างไร อารมณ์หลักอย่างต่อเนื่อง อย่างเช่น ขณะที่เราเดินจงกรม เรากาหนดรู้อาการเดินแต่ละก้าว แต่ละก้าวเป็นขณะ ๆ ไป นั่นคือความต่อเนื่องของอารมณ์ ถามว่าแต่ละ ก้าวนี่นะ ลองสังเกตดู ในแต่ละก้าว ๆ ที่ก้าวไป เรารู้ทันจุดเกิดของอาการก้าวตลอดเวลาหรือเปล่า นี่คือ ส่วนหนึ่งเป็นสภาวธรรม


































































































   574   575   576   577   578