Page 585 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 585
517
เพราะฉะนั้นการปฏิบัติธรรม เวลาปฏิบัติธรรม เวลานั่งกรรมฐาน ให้เราสังเกตให้ดีว่า ขณะที่ตามรู้ อาการทางกาย ตามรู้ลมหายใจอยู่ พอลมหายใจหมดไป อาการอะไรปรากฏเกิดขึ้นต่อ อาการอะไรปรากฏ เกิดขึ้น ก็ให้กาหนดรู้อาการนั้นต่อไป เพื่อความต่อเนื่องของการเจริญสติ เพื่อความต่อเนื่องของการเจริญ สมาธิของเรา ให้แก่กล้ายิ่งขึ้นไป นี่พูดถึงอาการทางกาย ทีนี้อาการทางกาย อันนี้พูดถึงลักษณะอาการทาง กายที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรานั่งกรรมฐาน ในอิริยาบถหลัก อิริยาบถนั่ง แล้วอิริยาบถอื่น อาการทางกายซึ่ง อิริยาบถอื่นนั้น อาการทางกายปรากฏชัดเจนในตัว
อริ ยิ าบถอนื่ นอกจากอริ ยิ าบถยอ่ ยคอื อะไร กค็ อื การเดนิ จงกรม เวลาเดนิ จงกรม เรากา หนดรอู้ าการ ทางกายโดยตรง ตรงที่เวลาขณะที่ก้าวเท้าเดิน มีอาการเคลื่อนไหวไป มีสติตามกาหนดรู้ อาการเคลื่อน ของเท้า การยก การย่าง การเหยียบ เคลื่อนไป พิจารณาแบบไหน...กาหนดรู้ มีสติรู้ทั้งซ้ายและขวา ตาม กาหนดรู้เกาะติดไป จริง ๆ ตามหลักการแล้ว ก็ไม่ต่างจากการกาหนดรู้อาการของลมหายใจ ตามกาหนด รู้อาการพองยุบ เพราะเป็นการกาหนดรู้อาการพระไตรลักษณ์ เป็นการกาหนดรู้ ถึงการเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไป เช่นเดียวกัน เพียงแต่เปลี่ยนอารมณ์ และอิริยาบถเท่านั้นเอง
เพียงแต่เปลี่ยนอารมณ์ และอิริยาบถ คืออารมณ์เปลี่ยนจาก การรู้ลมหายใจ เป็นรู้การเคลื่อนไหว ของเท้า อิริยาบถเปลี่ยนจากการนั่ง เป็นการยืน เป็นการเดินแทน เพราะฉะนั้น อารมณ์ที่เกิดขึ้นแบบนี้ เมื่อ ไหร่ก็ตาม ที่โยคีผู้ปฏิบัติ มีสติตามกาหนดรู้อาการเคลื่อนไหวของเท้า พร้อมสังเกตการเปลี่ยนแปลงไป ใน แต่ละก้าว ๆ ดูการเปลี่ยนแปลงเกิดดับไป ก็เป็นการตามรู้อาการทางกาย ที่เรียกกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีสติตามรู้อาการทางกายที่กาลังปรากฏ
อาการเคลื่อนไหวของเท้า การก้าวเดิน เป็นอาการของกายอาการของรูป ที่เกิดจากจิตเราสั่งให้เดิน ใ ห เ้ ค ล อื ่ น ไ ห ว ไ ป ใ ห เ้ ค ล อื ่ น ไ ห ว เ พ ร า ะ ฉ ะ น นั ้ อ า ร ม ณ เ์ ห ล า่ น ี ้ ก เ็ ป น็ อ า ร ม ณ ก์ ร ร ม ฐ า น เ ป น็ ส ภ า ว ธ ร ร ม ท สี ่ า ค ญั อยา่ งหนงึ่ ทโี่ ยคพี งึ ใสใ่ จ เพราะจะทา ให้ ทงั้ สตสิ มาธแิ ละปญั ญาของเรานนั้ มคี วามตอ่ เนอื่ งกนั ในทกุ อริ ยิ าบถ จากอิริยาบถนั่ง เปลี่ยนมาเป็นอิริยาบถเดิน จากอิริยาบถเดินก็เป็นอิริยาบถยืน เวลายืนจะกาหนดอะไร
จริง ๆ คาว่า กาหนดอาการตามรู้อาการทางกาย คาว่ากายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ตามรู้อาการทาง กาย ไม่ว่าจะเป็นยืน เดิน นั่ง หรือนอน อาการทางกายอะไรที่ปรากฏเกิดขึ้น การที่จะรู้ว่า การยืนแล้วจะ กาหนดรู้ที่กาย อาการทางกายว่าขณะที่ยืนอยู่นั้น มีอาการอะไรปรากฏเกิดขึ้น มีอาการอย่างไรปรากฏเกิด ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นอาการของลมหายใจ อาการพองยุบ อาการเต้นของหัวใจ อาการระยิบระยับตามร่างกาย เกิดขึ้นมา ก็คืออาการของกาย
ถา้ ขณะนนั้ มอี าการอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ปรากฏเกดิ ขนึ้ มา โยคกี ใ็ สใ่ จ ใหใ้ สใ่ จเขา้ ไปกา หนดรู้ ถงึ อาการ อันนั้นว่า เปลี่ยนหรือเกิดดับในลักษณะอย่างไร อันนี้ เป็นการกาหนดดูอาการทางกาย ที่เรียกว่ากายา- นุปัสสนาสติปัฏฐาน ในอิริยาบถทั้ง ๔ นี่คืออารมณ์หลัก นี่คืออารมณ์หลักในการเจริญสติ ที่เรียกว่ากายา- นุปัสสนาสติปัฏฐาน การที่เรามีสติตามกาหนดรู้ อาการทางกายของตน ๆ ให้อย่างต่อเนื่อง ตลอดบัลลังก์ อยู่ต่อเนื่องตลอดเวลา ก็จะทาให้สติสมาธิปัญญาแก่กล้าขึ้น