Page 855 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 855
787
แล้วดับ ดับเร็วดับช้า ก็ต่อจากเมื่อกี้ที่บอกว่าเห็นอาการของความคิดกี่ขณะ เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป เกิด ขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป หรือเห็นสองขณะ เกิดแล้วดับ เกิดแล้วดับ... ตรงนี้ก็คือเป็นตัวบอกถึงระดับของสติ เราว่ามีมากแค่ไหน
พอเราสนใจถึงลักษณะอาการเกิดดับบ่อย ๆ อานิสงส์ที่เกิดขึ้นคือ ต่อไปเมื่อมีความทุกข์เกิดขึ้นมา จะสนใจลกั ษณะอาการเกดิ ดบั ของความทกุ ขก์ อ่ น เราเขา้ ถงึ การเกดิ ดบั เรว็ เทา่ ไหรค่ วามทกุ ขก์ ห็ มดเรว็ เทา่ นนั้ เขาจะจบเร็ว สั้นลง ๆ ไปเรื่อย ๆ ความทุกข์จะน้อยลงไป เพราะฉะนั้น การที่สนใจอาการพระไตรลักษณ์ จิตเราจะไม่เกาะนาน แต่ถ้าสนใจเรื่องราวก็เป็นการสนใจการตั้งอยู่ เมื่อสนใจการตั้งอยู่ก็จะมีรสชาติ พอมี รสชาตเิ รากจ็ ะเขา้ ไปดมื่ ดา่ กบั รสชาตอิ นั นนั้ ทเี่ รยี กวา่ เขา้ ไปเสวยอารมณเ์ ขา้ ไปเสพอารมณอ์ นั นนั้ เราดมื่ ดา่ อยู่กับอารมณ์เหล่านั้นนานแค่ไหน ? ถ้าดื่มด่ากับน้าทิพย์ก็ดีไป ถ้าดื่มด่ากับน้าพิษก็ทุกข์ไป กลายเป็นว่า เราอยู่กับรสชาติของอารมณ์ที่เกิดขึ้นมา
เพราะฉะนั้น การที่สนใจอาการเกิดดับของความคิดตรงนี้ เราเล่าถึงอาการเกิดดับของความคิด
ตอนนั่ง บัลลังก์ก่อนความคิดเกิดดับแบบนั้น แต่บัลลังก์นี้อาการของความคิดเปลี่ยนเป็นแบบนี้ หรือ(อาการของ)ความคิดยังเหมือนเดิมก็ไม่ผิด เล่าได้ ความคิดยังเหมือนเดิม ยังมาเยอะเหมือนเดิมเลย แต่ว่า... เห็นไหมมันยังมี “แต่” อยู่ มันไม่เหมือนเดิมอยู่อีกนั่นแหละ ความคิดเยอะเหมือนเดิม “แต่” ก็ยัง มีจุดที่ไม่เหมือนเดิม-ถ้าเราสังเกต เห็นไหม นี่คือการสังเกตตรงนี้สาคัญ การที่เราสนใจถึงความแตกต่าง สาคัญ คือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ความแปรปรวน เปลี่ยนแปลง ไม่เหมือนเดิม นี่คือกฎของ ไตรลักษณ์
นอกจากความคิดแล้วก็ “ต้นจิต” เมื่อวํานกําหนดต้นจิตไม่ได้เลย เริ่มเครียดแล้ว พยํายํามหําก็ ไม่เจอสักทีหนึ่ง ถึงกาหนดต้นจิตไม่ทัน แต่การพยายามกาหนดต้นจิตอยู่เรื่อย ๆ ก็จะมีผลตามมา ต้นจิต อาศยั อาการของอริ ยิ าบถยอ่ ย เหมอื นเรารกู้ อ่ นขยบั แมเ้ ราไมเ่ หน็ ตน้ จติ แตจ่ ะรชู้ ดั ถงึ อาการขยบั อาการของ อิริยาบถย่อยจะต่างไปเมื่อเราใส่ใจอาการของต้นจิต ถึงไม่ทันต้นจิตแต่ก็จะเห็นอาการของอิริยาบถย่อยที่ ต่างไป ต่างไปยังไงอันนี้แล้วแต่โยคีนะ ไม่ทันต้นจิตแต่อาการชัดขึ้น เริ่มทันอาการมากขึ้น ๆ นั่นคือผลที่ ตามมา ไม่ได้หมายความว่าดูแค่ต้นจิตอย่างเดียว สักพักพอขยับช้าลง เริ่มเห็นต้นจิตนิดหนึ่ง รู้สึกนิดหนึ่ง อาการเคลื่อนไหวเริ่มตั้งมั่นขึ้น ยิ่งเห็นต้นจิต...ผลที่ตามมาคือสภาพจิตเป็นยังไง
นอกจาก “อาการ” ก็จะถามว่า “สภาพจิตเป็นยังไง ?” พอสังเกตต้นจิตตั้งใจที่จะรู้ต้นจิตมากขึ้น สภาพจิตรู้สึกนิ่งขึ้น ตั้งมั่นขึ้น ตื่นตัวขึ้น กระฉับกระเฉงขึ้น โปร่งขึ้น ใสขึ้น สว่างขึ้น อันนี้คือสภาพจิตเป็น ยังไง หรือตั้งใจกาหนดต้นจิตอย่างมาก พยายามหาการบ้านมาส่งอารมณ์อาจารย์ จ้องต้นจิตจนมึนปวด หัวไปหมดแล้วนี่ ใช่ไหม ? มี เราคิดว่าถ้าต้นจิตมันเป็น “ต้น” เท่ากับต้นมังคุด แบบนั้นก็จะหาง่ายหน่อย ครงั้ กอ่ นโยมเขาเพาะตน้ มะมว่ งจะถวายอาจารย์ ตน้ จติ มนั คอ่ ย ๆ งอกเหมอื นยอดมะมว่ งใชไ่ หมอําจํารย์ ? โยมสังเกตดูสิรู้สึกก่อนไหมก่อนที่จะขยับ ? เออ! ก่อนที่จะขยับรู้สึกก่อนนิดหนึ่ง ๆ นี่แหละคือต้นจิต อ๋อ! มันค่อย ๆ งดงํามขึ้นเหมือนเรําปลูกต้นมะม่วงนะ ถ้าเรารู้ทันขึ้น เดี๋ยวจิตก็จะงดงามผ่องใสขึ้น