Page 859 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 859

791
สังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือว่า ขณะนั้นมีตัวตนไหม มีความรู้สึกว่าเป็นเราไหม อย่าคิดว่าสลัวมัว ๆ แล้วจะ ต้องมีตัวตนเสมอไป เพราะว่ามีสภาวะบางอย่างไม่เกี่ยวกับความมีตัวตน ไม่มีตัวตนเขาก็สลัว ๆ ได้ เพราะ ฉะนั้น หน้าที่ของโยคีคือมีสติเข้าไปกาหนดรู้ดูการเปลี่ยนแปลงของเขาไป
และที่ให้ทาอย่างนี้เพื่ออะไร ? จริง ๆ แล้วเป้าหมายการปฏิบัติเพื่ออะไร ก็ทาแบบนี้เพื่อจะเดินทาง ไปสู่เป้าหมายอันนั้น แค่นั้นเอง! เพียงแต่ว่าบางครั้งก็ต้องทาซ้า ๆ ซ้า ๆ ซ้า ๆ เราทานข้าวยังทานซ้าเลย ซ้ายังไง ? ตักใส่ปากเหมือนเดิม ไปใส่ที่อื่นแทนก็ไม่ได้ นี่แหละคือการซ้า แต่สิ่งหนึ่งที่ตามมาและที่ไม่ซ้า คือน้าหนักเพิ่มขึ้น ๆ นี่สภาวะก็เหมือนกัน เราทาซ้า ๆ ก็จริงแต่สมาธิและสติเราจะแข็งแรงขึ้น แข็งแรง ขึ้น... ทาซ้าไม่ใช่ไม่ดี ซ้าน่ะดีแล้ว เราจะได้แข็งแรงขึ้น จะสงบตั้งมั่นขึ้น พอถึงเวลาแข็งแรงเต็มที่ เดี๋ยวเขา ก็เปลี่ยนเอง ยังไงก็เปลี่ยน นี่คือความไม่เที่ยง นี่คือวิธีการเล่าสภาวะ
อาจารย์จะเป็นอย่างนี้ พอจะสอนวิธีเล่าสภาวะก็กลายเป็นบอกวิธีสังเกตอาการทุกที มันเป็นความ เคยชิน เมื่อก่อนเราไม่ได้บอกว่าต้องเล่าอะไรบ้าง ต้องสังเกตจุดไหน เห็นอาการตรงไหนเปลี่ยนก็เล่า ตามนั้น เล่าตามอาการที่เกิด ทั้งที่พัฒนาขึ้นทั้งแย่ลงเล่าได้หมด ไม่ใช่แบบดีแล้วค่อยเล่า ไม่ดีไม่เล่าดีกว่า เก็บไว้คนเดียว... แต่หน้าที่ของครูบาอาจารย์คือแก้ส่วนที่ไม่ดีให้ดีขึ้น... หมดเวลา เข้าใจขึ้นนะ ? พรุ่งนี้ น่าจะเล่าสภาวะได้กระชับขึ้นเยอะ แต่อย่ารวบรัดเกินไปนะเดี๋ยวไม่รู้เรื่อง กระชับคือพูดตรงประเด็น แต่ กระชับจนไม่รู้เรื่องเลยก็ไม่รู้จะสอนยังไงต่อ อาจารย์จะดีใจตรงที่ว่ากระชับเข้าใจ เข้าใจแล้วดีแล้วทา ต่อนะ... กลับไปงง ๆ ทําต่อตรงไหนดี ? อันนั้นไม่ได้นะ ที่ทามาดีแล้วจะได้ทาต่อไป
วันนี้การแสดงธรรมมาก็เห็นสมควรแก่เวลา ก็ขอหยุดไว้แต่เพียงเท่านี้ ขอความเจริญในธรรมจงมี แ ก โ่ ย ค ที กุ ๆ ค น เ จ ร ญิ พ ร . . . น งั ่ ส ง บ แ ผ เ่ ม ต ต า ก อ่ น ก า ร ท เี ่ ร า ไ ด บ้ า เ พ ญ็ เ พ ยี ร ป ฏ บิ ตั ธิ ร ร ม เ จ ร ญิ ภ า ว น า ต งั ้ แ ต ่ เ ช า้ จ น ถ งึ ข ณ ะ น ี ้ บ ญุ ก ศุ ล ท เี ่ ร า ไ ด บ้ า เ พ ญ็ ม า น เี ้ ป น็ ม ห า ก ศุ ล ท เี ่ ก ดิ จ า ก ก า ร เ จ ร ญิ ภ า ว น า เ ม อื ่ เ ร า ไ ด บ้ า เ พ ญ็ เ พ ยี ร ภ า ว น า ม า จ ะ ไ ด น้ อ้ ม บ ญุ อ นั น นั ้ แ ผ เ่ ม ต ต า แ ผ ค่ ว า ม ป ร า ร ถ น า ด ใี ห ก้ บั ผ อ้ ู นื ่ เ พ อื ่ ใ ห เ้ ข า ไ ด ร้ บั บ ญุ ก ศุ ล อ นั น ดี ้ ว้ ย ให้กับผู้มีพระคุณ ให้พ่อให้แม่ และที่สาคัญอย่างยิ่ง การปฏิบัติธรรม การที่เราทาจิตให้ว่างให้ผ่องใส และ น้อมถึงบุญกุศลที่เกิดขึ้น เป็นการเพิ่มพลังบุญ เป็นการเมตตาตัวเอง การทาจิตของเราให้บริสุทธิ์ให้ผ่องใส ให้ความทุกข์ลดลงน้อยลง หรือทาความทุกข์ให้หมดไป นั่นคือการรู้จักเมตตาตัวเอง
อีกอย่างหนึ่ง การที่เราน้อมถึงบุญ ความรู้สึกดี ๆ น้อมถึงความสุขที่เกิดจากการทาความดีของเรา เขา้ มาใสใ่ จใหเ้ ตม็ ใหเ้ ตม็ เปน็ การเพมิ่ พลงั เมตตาใหก้ บั ตนเอง เพราะฉะนนั้ การทเี่ ราบอกวา่ เราจะแผเ่ มตตา ก่อนที่จะแผ่เมตตา จิตของเราก็จะต้องมีพลังเมตตาอันนั้น พลังเมตตาคือพลังของบุญ พลังของความสุข ความอิ่มใจ ความสบายใจ เพราะฉะนั้น ขอให้เราน้อมถึงบุญกุศลอันนั้น น้อมเข้ามาใส่ใจของเราให้เต็ม ให้ เต็มทั้งตัว ให้ล้นจากตัว ให้กว้างออกไป กว้างออกไป... ไม่มีขอบเขตไม่มีประมาณ เมื่อเรารู้สึกว่าจิตของ เราเต็มไปด้วยพลังบุญแล้ว ก็ขอให้อธิษฐานจิตให้กับตัวเอง
ด้วยอานุภาพแห่งบุญนี้ จงมาเป็นตบะ เป็นพลว เป็นปัจจัย ให้เราเป็นผู้มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา มดี วงตาเหน็ ธรรม และเขา้ ถงึ ธรรมโดยฉบั พลนั จากนนั้ ใหแ้ ผจ่ ติ ทเี่ ปน็ บญุ อนั นใี้ หก้ วา้ งออกไปอกี กวา้ งออก


































































































   857   858   859   860   861