Page 17 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การเจาะสภาวะ
P. 17
195
ถ้าลมหายใจยาว ๆ มันยาว...ไป หายใจเข้าก็ยาว ๆ ๆ ไปเรื่อย ๆ ยาวถึงไหนก็ตามมีสติตามกาหนดรู้ สิ่งนั้นจนสิ้นสุด พอเขาสุดปุ๊บ เวลาหายใจออกมา ยังยาวเหมือนเดิมไหม ยาว...ต่อเนื่องจนสิ้นสุดจนเลย ออกไปไกล ๆ เห็นไหม เราก็ตามรู้จนสิ้นสุด
ลมหายใจเขาจะเปลี่ยนอย่างไร เป็นหน้าที่ของเขา หน้าที่ของเรา หน้าที่ของผู้ปฏิบัติ หน้าที่ของโยคี คือมีสติเข้าไปตามกาหนดรู้ถึงการเปลี่ยนแปลง ถึงอาการเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไปในลักษณะอย่างนี้ นี่คือการ พจิ ารณาอาการพระไตรลกั ษณ์ เราเรมิ่ ตน้ ดว้ ยการกา หนดลมหายใจแบบนี้ เพราะลมหายใจเปน็ อารมณท์ เี่ รา ไมต่ อ้ งสรา้ งนะ ไมต่ อ้ งสรา้ ง ไมต่ อ้ งบงั คบั ไมต่ อ้ งไปปรงุ แตง่ มากมาย ไมต่ อ้ งปรงุ แตง่ อะไรเลย แมแ้ ตเ่ ราหลบั เขาก็ยังทาหน้าที่ของเขาอยู่ นั่นคือไม่ปรุงแต่งเขาก็มี เพราะฉะนั้นจึงเป็นสภาวธรรม เป็นอารมณ์ที่เป็น ธรรมชาตจิ รงิ ๆ เพยี งแตข่ อใหส้ งั เกตใหด้ นี ะ สงั เกตใหด้ ี ตามตดิ ตามกา หนดรดู้ จู นลมหายใจหมดไป หมดไป
คาว่าหมดไปในที่นี้ ในที่นี้หมายถึงว่าเราตามรู้ลมหายใจจนหมดจนหาไม่เจอ ไม่ว่าจะเป็นเข้าหรือ ออก จนลมหายใจว่างไป หมดไปเลย รู้สึกหาอย่างไรก็ไม่เจอ ไม่มีลมหายใจ ลมหายใจหายไปว่างไป ตาม ตรงนี้เรียกว่าตามจนสิ้นสุดอาการ แล้วถ้าเขาว่างไปชั่วระยะหนึ่งสั้น ๆ ว่างไป หายไปชั่วอึดใจหนึ่งแล้วเกิด ขึ้นมาใหม่ จะเรียกว่าหายไปไหม ก็เรียกว่าหายเหมือนกัน เขาว่างไปชั่วระยะอึดใจหนึ่ง ถ้าอึดใจหนึ่งหรือ ประมาณสัก ๓๐ วินาที ที่ลมหายใจหายไป เราจะสังเกตได้ว่าขณะที่ลมหายใจหายไป ตรงนั้น...ช่องว่าง ตรงนั้นประมาณสัก ๓๐ วินาที จิตเราเป็นอย่างไร จิตเรารู้สึกมีความสงบ มีความตั้งมั่นขึ้นไหม จากนั้น ลมหายใจค่อย ๆ ชัดขึ้นมาอีก ถ้าลมหายใจค่อย ๆ ชัดขึ้นมาอีก ก็ดีแล้วนะ เราก็เข้าไปกาหนดรู้อาการ ของลมหายใจที่ปรากฏขึ้นมาใหม่ ที่ชัดขึ้นมาอีกนั่นแหละว่า เขาต่างจากก่อนหน้านี้อย่างไร เขาเปลี่ยนไป อย่างไร เขาบางลงกว่าเดิมไหม หรือบางลงกว่าเดิมไหม เร็วกว่าเดิมไหม คมชัดมากขึ้นกว่าเดิมไหม หรือ ว่าเลือนรางกว่าเดิม หรือช้ากว่าเดิมอีก
นี่คือจุดที่เราพึงพิจารณาสังเกตถึงความแตกต่าง นี่คือการพิจารณาความเป็นอนิจจัง ความ แปรปรวนเปลี่ยนแปลง ไม่คงที่ไม่เหมือนเดิม เกิดขึ้นมาแล้วเปลี่ยนไป จางไปสลายไปหายไปดับไป ให้เรา สังเกตในลักษณะอย่างนี้ เพราะฉะนั้น เมื่อเราใส่ใจรายละเอียด เมื่อเราใส่ใจการเปลี่ยนแปลงรายละเอียด ของอาการของรูป ที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไปแบบนี้ ถ้าเราสังเกตดี ๆ จะเห็นว่า จิตเราจะมี อารมณ์เดียวได้นาน และตามรู้ได้อย่างต่อเนื่อง จิตจะไม่มีอาการหลับ มีแต่ความตี่นตัว พร้อมที่จะรู้ถึง อารมณ์ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น
อย่างที่บอกแล้วว่า จิตของเราไม่ชอบดูอะไรแบบจาเจเรื่อย ๆ เหมือนเดิม เพราะฉะนั้นการสนใจ ถงึ ความแตกตา่ งถงึ การเปลยี่ นไป ของอาการของกายของรปู ของลมหายใจ ทมี่ กี ารเกดิ ขนึ้ ตงั้ อยดู่ บั ไปตรงนี้ นจี่ ะชว่ ยใหส้ ตเิ รารอู้ ยกู่ บั ปจั จบุ นั เรามสี มาธอิ ยกู่ บั อารมณใ์ ดอารมณห์ นงึ่ ไดน้ าน ไดอ้ ยา่ งยาวนาน ตอ่ เนอื่ ง เป็นหลาย ๆ นาทีไปได้ แล้วสมาธิก็จะตั้งมั่นมากขึ้นอีก สมาธิจะมีกาลังเพิ่มขึ้นอีก
เพราะฉะนั้นในการกาหนดอารมณ์ ในการกาหนดอารมณ์ ให้ตามรู้จนสิ้นสุดอาการ ในลักษณะ อย่างนี้ ทีนี้ถ้าลมหายใจหายไปแล้ว ขณะที่ลมหายใจหายไปแล้วรู้สึกว่าง ๆ รู้สึกสงบ รู้สึกสว่างขึ้นมาจะ