Page 21 - ดับตัวตน ค้นธรรม
P. 21
แม้แต่เราหันหน้ายังเห็นอาการเกิดดับได้ ฉะนั้น กระพริบตาก็ เหมอื นกนั เราสงั เกต เรามเี จตนา มสี ตริ ชู้ ดั กบั อารมณป์ จั จบุ นั สภาวธรรม ก็จะปรากฏชัด แต่จะให้ดีขึ้น เพื่อเป็นการกากับให้มีเจตนาที่ชัดเจน เขา เรียกว่า “รู้ต้นจิต” รู้ก่อนทา! ก่อนที่จะขยับ ให้มีสติก่อนนิดหนึ่ง แล้วก็ เคลื่อนไป... คาว่า “มีต้นจิต” ก็ไม่จาเป็นต้องช้าเสมอไป อาจจะเร็วก็ได้ ช้าก็ได้ ขออย่างเดียว-เน้นว่าขออย่างเดียว คือให้มีสติรู้ชัดและรู้ทัน ถ้า ไม่ทัน-ถอยกลับมาให้ช้าลง ถ้าทันแล้วเร็วแค่ไหนก็ได้ อันนี้เอากาลังของ สติเราเป็นที่ตั้ง ถ้าเราทันนี่ ช้าได้ เร็วได้ นี่คือการกาหนดสภาวธรรม
เพราะฉะนนั้ นอนกต็ อ้ งพดู นะ ไมพ่ ดู กไ็ มค่ รบอริ ยิ าบถทงั้ สอี่ กี นะ ส่วนใหญ่แล้วทาไมเขานอนตะแคง ? จริง ๆ แล้วนอนพร้อมที่จะลุก พอ เมื่อยก็ลุกปฏิบัติ มีสติกาหนดรู้ เพราะว่าคนเรานี่นอนท่าเดียว ยากนะ! ปกตกิ น็ อนตะแคงซา้ ยบา้ งขวาบา้ ง เพอื่ ทจี่ ะไดน้ อนสบายมากขนึ้ ใหต้ ลอด ทั้งคืน ถ้านอนท่าเดียว จะขยับปั๊บ รู้สึกตัว ก็ต้องตื่นขึ้นมาปฏิบัติ... ก็ขอ ให้กาหนดเอง ประมาณว่าเราจะนอนกี่ชั่วโมง แต่ถ้าปฏิบัติอย่างนี้ต้อง นอนน้อยนะ - บัณฑิตนอนสี่ เศรษฐีนอนหก ยาจกนอนแปด ถ้านอน มากกว่านั้นก็แย่เลย!
เราเป็นนักปฏิบัติธรรมผู้เจริญปัญญา ลองดูว่า เราจะนอนมาก นอนน้อยอย่างไร ? กาหนดรู้สภาวธรรมให้มากขึ้น ตั้งนาฬิกาให้กับ ตนเอง - นาฬิกาใจก็ได้ นาฬิกาปลุกก็ได้ ตั้งไว้ในใจเรา จะตื่นเวลานั้น จะ เดินจงกรม แล้วก็จะปฏิบัติไป... ทีนี้ว่า ในการปฏิบัติแต่ละบัลลังก์จะนาน แค่ไหน ? ดูแล้วที่นั่งอยู่นี่ ชั่วโมงหนึ่งเรื่องเล็กเลยนะ... เอาเป็นว่าไม่ต้อง เยอะ สบาย ๆ บัลลังก์สลับกันครั้งละชั่วโมงหรือ ๔๕ นาที พิจารณาตาม ความเหมาะสม - ธรรมะเกินแล้วหลับก็ไม่ดี น้อยเกินฟุ้งซ่านก็ไม่ดี
13