Page 102 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 102
98
ยุบก็ตาม นั่นคืออาการทางกายที่เกิดขึ้น และการพิจารณาอาการทางกาย ที่เป็นกายละเอียดตรงนี้แหละ เมื่อกาหนดรู้อย่างต่อเนื่อง และสติ-สมาธิ- ปัญญาแก่กล้าขึ้น จะเห็นชัดถึงความเปลี่ยนแปลง การเกิดขึ้น-ตั้งอยู่- ด บั ไ ป ม แี ล ว้ ห ม ด ไ ป ม แี ล ว้ ห า ย ไ ป เ ม อื ่ ส ต ปิ ญั ญ า แ ก ก่ ล า้ ข นึ ้ จ ะ ม คี ว า ม ร ส้ ู กึ ว่าลมหายใจหรืออาการทางกายค่อย ๆ บาง ค่อย ๆ จาง ค่อย ๆ เลือน หายไป อาการของกายของลมหายใจเลือนไป หายไป ว่างไป พองยุบหาย ไป อาการเต้นของหัวใจหายไป...
เมื่อจิตละเอียดขึ้น เห็นว่ารูปนามนี้ยึดไม่ได้ อาการทางกายยึด ไม่ได้ จิตคลายจากอุปาทาน กลับรู้สึกว่ารูปที่นั่งอยู่ก็หายไปว่างไปด้วย นั่นคือการเพิกบัญญัติ คือการคลายอุปาทาน และเห็นชัดด้วยการเข้าไป กาหนดรู้อยู่กับปัจจุบันขณะในแต่ละขณะ แต่ละขณะ รู้เมื่อไหร่รูปก็ว่าง ไปหายไป นั่นบอกอะไร ? นั่นบอกถึงว่าสติปัญญาแก่กล้าและมีกาลัง เห็นชัดถึงความว่างเปล่า ความเป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่า และเป็น ตวั บอกวา่ เปน็ อนตั ตา ไมไ่ ดบ้ อกวา่ เปน็ ของเรา และเหน็ ชดั ถงึ ความไมเ่ ทยี่ ง ว่าตั้งอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ แล้วเปลี่ยนไป
ยิ่งเห็นความว่างในลักษณะอย่างนี้ จิตยิ่งรู้สึกอิสระ ยิ่งรู้สึกเบา รสู้ กึ โลง่ รสู้ กึ สงบ ไมว่ นุ่ วาย ไมอ่ ดึ อดั ไมข่ ดั เคอื งกบั สงิ่ ทเี่ กดิ ขนึ้ นนั่ หมาย ถึงว่าจิตพบกับความอิสระ ไม่ต้องไปยึด เป็นความผ่อนคลาย ไม่ต้องไป ยึดอะไร ไม่ต้องแบกอะไร ไม่ต้องแบกรูปขันธ์ กลายเป็นของว่างเปล่า จึง รู้สึกสบาย รู้สึกโล่ง รู้สึกโปร่ง บางครั้งรู้สึกสว่าง โปร่ง โล่งไปหมดเลย เพราะอะไร ? เพราะไม่ต้องแบกอะไร ทั้ง ๆ ที่เมื่อก่อน ก่อนที่จะปฏิบัติ เราก็ไม่รู้ว่าแบกอะไรแต่มันมีน้าหนักอยู่ ไม่รู้ว่าตัวเองยึดอะไรแต่ยังรู้สึก มีน้าหนัก นี่คือการพิจารณาสภาวธรรมที่เกิดขึ้น