Page 120 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 120
116
เรยี กวา่ “สตสิ มั ปชญั ญะ” มสี ตสิ มั ปชญั ญะรชู้ ดั ในอาการทเี่ กดิ ขนึ้ -เปลยี่ น ไป รลู้ มหายใจเกดิ ขนึ้ -เปลยี่ นไปอยตู่ ลอดเวลา ถา้ ทา แบบนอี้ ยเู่ นอื ง ๆ สติ ส ม า ธ มิ า ก ข นึ ้ อ กี ส งิ ่ ห น งึ ่ ท จี ่ ะ ต า ม ม า ท บี ่ อ ก ว า่ ส ต -ิ ส ม า ธ -ิ ป ญั ญ า ป ญั ญ า ค อื อะไร ? ปญั ญา คอื ปญั ญาทเี่ ราเหน็ ถงึ ความไมเ่ ทยี่ ง ถงึ กฎของไตรลกั ษณ์ ที่บอกว่ารูปไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง สัญญาไม่เที่ยง สังขารไม่เที่ยง... พอ เราพิจารณาความเปลี่ยนแปลงของลมหายใจ เราเริ่มเห็นความไม่เที่ยง ของอะไร ? เห็นความไม่เที่ยงของรูป เห็นความไม่เที่ยงของกาย
จากที่เราไม่เคยสนใจ รู้แต่ว่ามีลมหายใจ เราหายใจอยู่ทุกวัน ลมหายใจเป็นอย่างไรไม่เคยสนใจเลย ทั้ง ๆ ที่มีชีวิตอยู่ได้เพราะลม หายใจแตไ่ มเ่ คยสนใจลมหายใจตวั เองวา่ ดอี ยา่ งไร เปน็ อยา่ งไร หายใจยาว หายใจสนั้ หายใจละเอยี ด หายใจหยาบ... ถา้ เราพจิ ารณาลมหายใจ จรงิ ๆ แล้วมีประโยชน์มาก นอกจากการเห็นการเปลี่ยนแปลง เราก็จะรู้ถึงว่า อาการทางกายเป็นอย่างไร เราก็สังเกตได้จากลมหายใจนั่นแหละ เวลา หายใจหยาบ หายใจเหนื่อย ร่างกายเป็นอย่างไร ดี/ไม่ดีอย่างไร เวลาเรา หายใจยาว คล่องตัว หายใจราบรื่น ไม่มีอาการติดขัด ไม่แน่นหน้าอก รู้สึกโล่งโปร่งไปหมด ร่างกายเราเป็นอย่างไร อันนี้อย่างหนึ่ง
แตท่ นี พี้ ดู ถงึ สภาวธรรม ตามหลกั การ : ทเี่ ราเหน็ การเปลยี่ นแปลง ของลมหายใจเข้า-ออก เราเห็นความไม่เที่ยง ความเปลี่ยนแปลงของ ลมหายใจเข้า-ออก ความไม่เที่ยงของอาการพอง-ยุบ พอดูไปสักพัก เริ่ม สังเกตเห็นว่า “ลมหายใจ” กับ “จิต” หรือ “สติที่ทาหน้าที่รู้ลมหายใจ” ชัก ไม่เป็นอันเดียวกันแล้ว บางทีลมหายใจหายไป เหลือแต่สติ เหลือแต่จิต นั่งรอเมื่อไหร่ลมหายใจจะปรากฏ หาอารมณ์ไม่เจอ ลมหายใจหายไป เหลืออะไร ? ตรงนี้เห็นอะไร ? ตรงนี้แหละจะพิจารณาเห็นว่า ลมหายใจ