Page 118 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 118
114
เรา อย่างเช่น ขณะที่เรานั่งกรรมฐาน/นั่งสมาธิ ให้มี “เจตนา” ให้มี “สติ” มาใส่ใจอาการของร่างกายตัวเอง อาการทางกายอะไรที่เกิดขึ้นที่ชัดที่สุด โดยทเี่ ราไมต่ อ้ งบงั คบั ไมต่ อ้ งสรา้ ง ? กค็ อื ลมหายใจเขา้ -ออกนนั่ แหละ เวลา เราหายใจเข้า-หายใจออก ก็สังเกตอาการของลมหายใจเข้า-ออก เพราะ ลมหายใจเข้า-ออกเราไม่ต้องบังคับไม่ต้องสร้าง เขาจะทาหน้าที่เป็นปกติ เพื่อรักษาชีวิตอันนี้ จะหลับก็หายใจ จะตื่นก็หายใจ นี่คือธรรมชาติของ ร่างกาย ธรรมชาติของรูป
และธรรมชาตติ รงนนี้ แี่ หละทเี่ รานา มาพจิ ารณา เอามาเปน็ อารมณ์ เป็นหลักในการพัฒนาสติ-สมาธิ-ปัญญาของตน เห็นไหมว่า สิ่งที่จะทาให้ มสี ต-ิ สมาธ-ิ ปญั ญาทางธรรมเกดิ ขนึ้ กลายเปน็ วา่ เรามาพจิ ารณาเรอื่ งทอี่ ยู่ ใกล้ที่สุด ก็คือลมหายใจของเรา อันนี้เป็นเบื้องต้น แต่ในขณะเดียวกัน เวลาเราหายใจเข้า-ออก อาการที่ชัด บางคนจะรู้สึกว่าเขาชัดอยู่ที่ปลาย จมูก แต่บางคนจะรู้สึกว่าชัดอยู่ที่ท้อง ตรงที่ชัดอยู่ที่ท้อง หายใจเข้าท้อง พองออก หายใจออกท้องยุบลง เลยเรียกว่า “พอง-ยุบ” เพราะฉะนั้น เรา ใสค่ า บรกิ รรมกา กบั ไปตามอาการทปี่ รากฏ แตน่ นั่ คอื อารมณห์ ลกั ทเี่ กดิ ขนึ้ จากลมหายใจเข้า-ออก
ตรงนี้เป็นอารมณ์หลัก อารมณ์หลักของอะไร ? เป็นอารมณ์หลัก ข อ ง จ ติ ท จี ่ ะ ท า ใ ห จ้ ติ เ ร า ม สี ม า ธ ขิ นึ ้ จ ะ ท า ใ ห ส้ ต เิ ร า ด ขี นึ ้ จ ะ ท า ใ ห เ้ ก ดิ ป ญั ญ า มากขนึ้ ขณะทเี่ ราตามรลู้ มหายใจแลว้ สต-ิ สมาธ-ิ ปญั ญาเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร ? เราจะเหน็ วา่ วธิ ฝี กึ สตฝิ กึ สมาธนิ ี่ ไมว่ า่ ทไี่ หนกต็ าม กม็ กั กลา่ วไวเ้ สมอวา่ ใหม้ สี ตริ อู้ ยกู่ บั ปจั จบุ นั มอี ารมณห์ ลกั ใหจ้ ติ ไดต้ ามรู้ เพราะจติ ของเราเวลา ไมม่ อี ารมณห์ ลกั ใหต้ ามรู้ เขาจะวงิ่ เสาะแสวงหาอารมณต์ ลอดเวลา แลว้ เรา จะรสู้ กึ วา่ พอเรมิ่ นงั่ ลงหลบั ตา ยงั ไมม่ อี ารมณห์ ลกั ไมร่ จู้ ะไปดอู ะไร เดยี๋ ว